ประสบการณ์อาการการทำหน้าที่ด้านเพศสัมพันธ์ วิธีการจัดการ และคุณภาพชีวิตในผู้ป่วยมุสลิมโรคไตเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ได้รับการบำบัดทดแทนไต
วิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การพยาบาลผู้ใหญ่))--มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2562
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
2023
|
Subjects: | |
Online Access: | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19109 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Prince of Songkhla University |
Language: | Thai |
id |
th-psu.2016-19109 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Prince of Songkhla University |
building |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
collection |
PSU Knowledge Bank |
language |
Thai |
topic |
ไตวายเรื้อรัง ผู้ป่วย การดูแล ไตวายเรื้อรัง การพยาบาล |
spellingShingle |
ไตวายเรื้อรัง ผู้ป่วย การดูแล ไตวายเรื้อรัง การพยาบาล มยุรา หมัดศิริ ประสบการณ์อาการการทำหน้าที่ด้านเพศสัมพันธ์ วิธีการจัดการ และคุณภาพชีวิตในผู้ป่วยมุสลิมโรคไตเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ได้รับการบำบัดทดแทนไต |
description |
วิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การพยาบาลผู้ใหญ่))--มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2562 |
author2 |
กันตพร ยอดใชย |
author_facet |
กันตพร ยอดใชย มยุรา หมัดศิริ |
format |
Theses and Dissertations |
author |
มยุรา หมัดศิริ |
author_sort |
มยุรา หมัดศิริ |
title |
ประสบการณ์อาการการทำหน้าที่ด้านเพศสัมพันธ์ วิธีการจัดการ และคุณภาพชีวิตในผู้ป่วยมุสลิมโรคไตเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ได้รับการบำบัดทดแทนไต |
title_short |
ประสบการณ์อาการการทำหน้าที่ด้านเพศสัมพันธ์ วิธีการจัดการ และคุณภาพชีวิตในผู้ป่วยมุสลิมโรคไตเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ได้รับการบำบัดทดแทนไต |
title_full |
ประสบการณ์อาการการทำหน้าที่ด้านเพศสัมพันธ์ วิธีการจัดการ และคุณภาพชีวิตในผู้ป่วยมุสลิมโรคไตเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ได้รับการบำบัดทดแทนไต |
title_fullStr |
ประสบการณ์อาการการทำหน้าที่ด้านเพศสัมพันธ์ วิธีการจัดการ และคุณภาพชีวิตในผู้ป่วยมุสลิมโรคไตเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ได้รับการบำบัดทดแทนไต |
title_full_unstemmed |
ประสบการณ์อาการการทำหน้าที่ด้านเพศสัมพันธ์ วิธีการจัดการ และคุณภาพชีวิตในผู้ป่วยมุสลิมโรคไตเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ได้รับการบำบัดทดแทนไต |
title_sort |
ประสบการณ์อาการการทำหน้าที่ด้านเพศสัมพันธ์ วิธีการจัดการ และคุณภาพชีวิตในผู้ป่วยมุสลิมโรคไตเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ได้รับการบำบัดทดแทนไต |
publisher |
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |
publishDate |
2023 |
url |
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19109 |
_version_ |
1783957356146589696 |
spelling |
th-psu.2016-191092023-11-23T04:30:50Z ประสบการณ์อาการการทำหน้าที่ด้านเพศสัมพันธ์ วิธีการจัดการ และคุณภาพชีวิตในผู้ป่วยมุสลิมโรคไตเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ได้รับการบำบัดทดแทนไต Sexual Function Experience, Management Strategies and Quality of Life in Muslim Patients With End Stage Renal Disease Receiving Renal Replacement Therapy มยุรา หมัดศิริ กันตพร ยอดใชย Faculty of Nursing (Adult and Elderly Nursing) คณะพยาบาลศาสตร์ สาขาการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ ไตวายเรื้อรัง ผู้ป่วย การดูแล ไตวายเรื้อรัง การพยาบาล วิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การพยาบาลผู้ใหญ่))--มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2562 This descriptive research study aimed to examine sexual function experience, management strategies and quality of life in Muslim patients with end stage renal disease (ESRD) receiving renal replacement therapy (RRT), and to examine the relationship between sexual function and quality of life in Muslim patients with ESRD receiving RRT. The samples of the study were Muslim patients with ESRD receiving hemodialysis (HD) and continuous ambulatory peritoneal dialysis (CAPD). Purposive sampling was used to recruit 85 participants. The instruments of the study included: (1) The demographic information form, (2) The Quality of Sexual Function Scale, (3) Symptoms of Sexual Dysfunction, (4) Response to Sexual Dysfunction Symptoms, (5) Sexual Dysfunction Management Strategies and (6) Thai Health Related Quality of Life Dialysis. Content validity of all instruments was examined by five experts. Cronbach’s alpha coefficient of instruments number 2, 3, 4, 5 and 6 were .74, .70, .83, .73, and .70, respectively. Data were statistically analyzed using frequency, percentage, mean, standard deviation and Pearson’s Correlation Coefficient. The results showed the following: 1. Sixty percent of participants were male and 40 percent were female and aged between 28 and 81 years old (M = 51.41, SD = 11). The overall sexual function score was at the mild level (M = 45.42, SD = 5.94). Participants (56.5%) reported symptoms related to sexual dysfunction (SD) were decreased sexual desire, and erectile dysfunction in male participants (45.9%), which was the most frequently reported symptom related to SD. Whereas, females reported less lubrication in the vagina during sex (11.8%). Responses to symptoms included: fatigue (30.6%), irritability (35.3%), and reducing amount of sexual intercourse (44.7%). 2. The most commonly used management strategies were: (1) using various methods of relaxation including: reading the Quran, prayer, and blessing (91.8%), (2) create a comfortable atmosphere suitable for sleep and sexual intercourse (44.7%) and (3) regular dialysis treatment according to advice from physicians and nurses (96.5%). 3. The level of quality of life of participants was good (50.6%) and overall score of quality of life was good (M = 3.95, SD = .37). 4. No significant difference was found between sexual function and quality of life in Muslim patients with ESRD receiving RRT (r = .18, p = .10). The results of this study provide basic information to assist nurses and health care providers, to assess sexual dysfunction symptoms, and manage sexual dysfunction, in order to enhance the quality of life for Muslim patients with ESRD receiving RRT. การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงบรรยายมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสบการณ์อาการการทาหน้าที่ด้านเพศสัมพันธ์ วิธีการจัดการ และคุณภาพชีวิตในผู้ป่วยมุสลิมโรคไตเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ได้รับการบาบัดทดแทนไต รวมทั้งศึกษาถึงความสัมพันธ์ระหว่างการทาหน้าที่ด้านเพศสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตในผู้ป่วยมุสลิมโรคไตเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ได้รับการบาบัดทดแทนไต กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยมุสลิมโรคไตเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ได้รับการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม และการล้างไตทางช่องท้องแบบต่อเนื่อง คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง จานวน 85 ราย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย (1) แบบบันทึกข้อมูลทั่วไป (2) แบบสอบถามการทาหน้าที่ทางเพศสัมพันธ์ (3) แบบสอบถามอาการความบกพร่องการทาหน้าที่ด้านเพศสัมพันธ์ (4) แบบสอบถามการตอบสนองต่ออาการความบกพร่องการทาหน้าที่ด้านเพศสัมพันธ์ (5) แบบสอบถามวิธีการจัดการอาการความบกพร่องการทาหน้าที่ด้านเพศสัมพันธ์ และ (6) แบบสอบถามคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพในผู้ป่วยไทยที่ได้รับการรักษาด้วยการฟอกไต เครื่องมือทั้งหมดได้รับการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ จานวน 5 ท่าน คานวณหาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค เครื่องมือวิจัยที่ 2, 3, 4, 5, และ 6 ได้เท่ากับ .74, .70, .83, .73, .70 ตามลาดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน ผลการศึกษา พบว่า 1. กลุ่มตัวอย่างเป็นเพศชาย ร้อยละ 60 เพศหญิง ร้อยละ 40 มีอายุอยู่ระหว่าง 28 81 ปี (M = 51.41, SD = 11) ความบกพร่องการทาหน้าที่ด้านเพศสัมพันธ์โดยรวมมีคะแนนเฉลี่ยอยู่ในระดับเล็กน้อย (M = 45.42, SD = 5.94) อาการความบกพร่องการทาหน้าที่ด้านเพศสัมพันธ์พบมากที่สุด คือ อาการความต้องการทางเพศลดลง พบร้อยละ 56.5 โดยเพศชายมีอาการความบกพร่องการทาหน้าที่ด้านเพศสัมพันธ์พบมากที่สุด คือ อาการขององคชาตแข็งตัวไม่เต็มที่ ร้อยละ 45.9 ในขณะที่เพศหญิงอาการความบกพร่องการทาหน้าที่ด้านเพศสัมพันธ์พบมากที่สุด คือ ไม่มีน้าหล่อลื่นบริเวณช่องคลอดหรือมีน้อยมากขณะมีเพศสัมพันธ์ ร้อยละ 11.8 การตอบสนองต่ออาการความบกพร่องการทาหน้าที่ด้านเพศสัมพันธ์ ได้แก่ อ่อนล้า (30.6%) หงุดหงิด (35.3%) และการลดจานวนครั้งของการมีเพศสัมพันธ์ (44.7%) 2. วิธีการจัดการความบกพร่องการทาหน้าที่ด้านเพศสัมพันธ์ที่กลุ่มตัวอย่างใช้ มีดังนี้ (1) วิธีการคลายเครียดต่าง ๆ ได้แก่ การอ่านคัมภีร์อัลกุรอาน การละหมาด การขอพร พบ ร้อยละ 91.8 (2) สร้างบรรยากาศให้สบาย เหมาะสมกับการนอนและการมีเพศสัมพันธ์ พบ ร้อยละ 44.7 และ (3) การล้างไตอย่างสม่าเสมอตามคาแนะนาของแพทย์และพยาบาล พบ ร้อยละ 96.5 3. กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 50.6 มีคุณภาพชีวิตอยู่ในระดับดี และคุณภาพชีวิตโดยรวมมีคะแนนเฉลี่ยอยู่ในระดับดี (M = 3.95, SD = .37) 4. การทาหน้าที่ด้านเพศสัมพันธ์ไม่มีความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตในผู้ป่วยมุสลิมโรคไตเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ได้รับการบาบัดทดแทนไตอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (r= .18, p = .10) ผลการวิจัยครั้งนี้เป็นข้อมูลพื้นฐานสาหรับพยาบาลและบุคลากรทางสุขภาพในการประเมินความบกพร่องในการทาหน้าที่ด้านเพศสัมพันธ์ของผู้ป่วย เพื่อช่วยเหลือและส่งเสริมการจัดการความบกพร่องด้านเพศสัมพันธ์ของผู้ป่วย เพิ่มคุณภาพชีวิตในผู้ป่วยมุสลิมโรคไตเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ได้รับการบาบัดทดแทนไต 2023-11-23T04:30:50Z 2023-11-23T04:30:50Z 2019 Thesis http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19109 th Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ application/pdf มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |