การพัฒนาตัวแบบขั้นต้นของการแก้ปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ผ่านกระบวนการพูดคุย เพื่อสันติสุขที่รวมความคิดเห็นจากทุกฝ่าย

วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (ความขัดแย้งและสันติศึกษา))--มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2562

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: จักรพงษ์ อภิมหาธรรม
Other Authors: ศรีสมภพ จิตร์ภิรมย์ศรี
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 2023
Subjects:
Online Access:http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19112
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Prince of Songkhla University
Language: Thai
id th-psu.2016-19112
record_format dspace
institution Prince of Songkhla University
building Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
collection PSU Knowledge Bank
language Thai
topic การสร้างสันติภาพ ไทย (ภาคใต้)
การบริหารความขัดแย้ง
ความขัดแย้งทางสังคม
ความรุนแรง ไทย (ภาคใต้)
ไทย (ภาคใต้) ปัญหาและข้อพิพาท
spellingShingle การสร้างสันติภาพ ไทย (ภาคใต้)
การบริหารความขัดแย้ง
ความขัดแย้งทางสังคม
ความรุนแรง ไทย (ภาคใต้)
ไทย (ภาคใต้) ปัญหาและข้อพิพาท
จักรพงษ์ อภิมหาธรรม
การพัฒนาตัวแบบขั้นต้นของการแก้ปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ผ่านกระบวนการพูดคุย เพื่อสันติสุขที่รวมความคิดเห็นจากทุกฝ่าย
description วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (ความขัดแย้งและสันติศึกษา))--มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2562
author2 ศรีสมภพ จิตร์ภิรมย์ศรี
author_facet ศรีสมภพ จิตร์ภิรมย์ศรี
จักรพงษ์ อภิมหาธรรม
format Theses and Dissertations
author จักรพงษ์ อภิมหาธรรม
author_sort จักรพงษ์ อภิมหาธรรม
title การพัฒนาตัวแบบขั้นต้นของการแก้ปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ผ่านกระบวนการพูดคุย เพื่อสันติสุขที่รวมความคิดเห็นจากทุกฝ่าย
title_short การพัฒนาตัวแบบขั้นต้นของการแก้ปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ผ่านกระบวนการพูดคุย เพื่อสันติสุขที่รวมความคิดเห็นจากทุกฝ่าย
title_full การพัฒนาตัวแบบขั้นต้นของการแก้ปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ผ่านกระบวนการพูดคุย เพื่อสันติสุขที่รวมความคิดเห็นจากทุกฝ่าย
title_fullStr การพัฒนาตัวแบบขั้นต้นของการแก้ปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ผ่านกระบวนการพูดคุย เพื่อสันติสุขที่รวมความคิดเห็นจากทุกฝ่าย
title_full_unstemmed การพัฒนาตัวแบบขั้นต้นของการแก้ปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ผ่านกระบวนการพูดคุย เพื่อสันติสุขที่รวมความคิดเห็นจากทุกฝ่าย
title_sort การพัฒนาตัวแบบขั้นต้นของการแก้ปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ผ่านกระบวนการพูดคุย เพื่อสันติสุขที่รวมความคิดเห็นจากทุกฝ่าย
publisher มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
publishDate 2023
url http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19112
_version_ 1783957360946970624
spelling th-psu.2016-191122023-11-24T03:59:11Z การพัฒนาตัวแบบขั้นต้นของการแก้ปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ผ่านกระบวนการพูดคุย เพื่อสันติสุขที่รวมความคิดเห็นจากทุกฝ่าย Development of a Preliminary Model of Peacebuilding Process through Peace Dialogues for Inclusive Conflict Resolution of the Southern Border Provinces จักรพงษ์ อภิมหาธรรม ศรีสมภพ จิตร์ภิรมย์ศรี สถาบันสันติศึกษา Institute for Peace Studies การสร้างสันติภาพ ไทย (ภาคใต้) การบริหารความขัดแย้ง ความขัดแย้งทางสังคม ความรุนแรง ไทย (ภาคใต้) ไทย (ภาคใต้) ปัญหาและข้อพิพาท วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (ความขัดแย้งและสันติศึกษา))--มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2562 This research was aimed for development of a preliminary model of peacebuilding process through peace dialogues for Inclusive conflict resolution of the southern border provinces. Qualitative research used in this study included learning of relevant documents, in-depth interviews, observations and exchanges of ideas with small groups and groups of individuals who have a role in peace process in all levels. The results of this study found that a preliminary model was focused on creating peace in a small area, in order to expand in the large-scale peacebuilding. As for the road map, the topic "Building the Understanding in Each Other" will be only one topic to be conducted, and the pilot safety zone has been selected by the committees of both sides. The safety zone was established as an understanding testing measurement. According to the drive mechanism, the residents were set up as the main actor, in which playing a role in People's Council, and the supporters are the government, also the defender. In addition, the understanding creation cooperation framework should be signed by the two sides, in which to show the good intention and sincerity. According to the actor's role in all three tracks, the upper level (Track 1) should be adjusted. The head of the government Peace Dialogues Panel should assign the civilian person to sit in the upper level; meanwhile, the defender should to accelerate to build up the unity and convince the armed to join the Peace Dialogues altogether, and both sides should focus on the development approach. The informal discussion channel or Channel 1.5 should be extended, in order to open up the area. As for the intermediate level (Track II) and the lower level (Track III), the NGOs, stakeholders and the residents, should high light on building a small peaceful area, in order to, promote the safety area, pilot area, and to support the peace dialogues. The group of media and academics should target in building awareness and understanding in neutral peace process creatively, including to the promotion of living in cultural diversity campaign. As for the structure, to support the long-term peace process, should be focused on setting up the Peace Community's Committee, in order to create the understanding and to establish the mechanism to resolve the conflict peacefully, and set up the People's Council in the village, functioning as a central area for discussion in peace dialogues. Furthermore, the educational system in the southern border provinces, the peace studies should be contained in the curriculum of the basic education, in order to create the peacemakers or peacebuilders since the young age. วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาตัวแบบขั้นต้นในการแก้ปัญหาจังหวัด ชายแดนภาคใต้ผ่านกระบวนการพูดคุยเพื่อสันติสุขที่ทุกฝ่ายยอมรับได้ การศึกษานี้ได้ใช้การวิจัยเชิง คุณภาพ ประกอบด้วย การศึกษาเอกสาร การสัมภาษณ์เชิงลึก และการประชุมกลุ่มย่อย ผลการศึกษา พบว่า ตัวแบบขั้นต้นจะเน้นการสร้างสันติภาพภายในขนาดย่อยๆ เป็นพื้นที่สันติสุขขนาดเล็ก เพื่อไป สนับสนุนการสร้างสันติภาพขนาดใหญ่ สําหรับแผนที่การเดินทาง (Roadmap) การสร้างสันติภาพ ขนาดใหญ่ จะเริ่มต้นและดําเนินการเพียงเรื่องเดียวก่อน คือ การสร้างความไว้วางใจระหว่างกัน ด้วย การจัดตั้งพื้นที่ปลอดภัยนําร่องตามผลการพูดคุยของคณะพูดคุยเพื่อสันติสุขของทั้งสองฝ่ายที่ผ่านมา เพื่อใช้เป็นมาตรการในการทดสอบความไว้วางใจระหว่างกัน กําหนดกลไกขับเคลื่อนให้ประชาชนเป็น แกนหลักดําเนินการในลักษณะสภาประชาชน โดยรัฐบาล และกลุ่มผู้เห็นต่างจากรัฐ เป็นผู้ให้การสนับสนุน ทั้งนี้กรอบความร่วมมือการสร้างความไว้วางใจจะต้องมีการลงนามในเอกสารจากทั้งสองฝ่ายเพื่อแสดง ถึงความจริงจังและจริงใจต่อกัน สําหรับการทําหน้าที่ของตัวแสดงทั้ง 3 ระดับ (Track) ควรปรับบทบาท ตัวแสดงในระดับบน (Track I) โดยหัวหน้าคณะพูดคุยเพื่อสันติสุขของรัฐบาลควรกําหนดให้บุคคลพล เรือน เข้ามาทําหน้าที่ ขณะที่กลุ่มผู้เห็นต่างจากรัฐ ต้องเร่งสร้างความเป็นเอกภาพ และโน้มน้าวกลุ่ม ต่อสู้ด้วยอาวุธทั้งหมดเข้าร่วมการพูดคุย และทั้งสองฝ่ายควรให้ความสําคัญในการพัฒนาช่องทางการพบปะ พูดคุยอย่างไม่เป็นทางการ หรือช่องทาง 1.5 ให้มากขึ้น เพื่อเปิดพื้นที่เมื่อเผชิญอุปสรรค สําหรับตัว แสดงระดับกลาง (Track II) และระดับล่าง (Track III) ทั้งองค์กรภาคประชาสังคม กลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และประชาชน ให้เน้นการสร้างพื้นที่สันติสุขขนาดเล็กให้มาก ๆ เพื่อไปหนุนเสริมพื้นที่ปลอดภัย นําร่อง และให้เกื้อกูลต่อการพูดคุยบนโต๊ะพูดคุย ขณะที่สื่อมวลชน และนักวิชาการ เน้นเรื่องการสร้างการรับรู้ สร้างความเข้าใจในกระบวนการสันติภาพที่เป็นกลางอย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งส่งเสริมการอยู่ร่วมกันภายใต้ความหลากหลายทางวัฒนธรรม สําหรับโครงสร้างรองรับกระบวนการสันติภาพในระยะยาว ควรให้ความสําคัญกับการจัดตั้งคณะกรรมการสันติภาพชุมชนเพื่อทําหน้าที่ในการสร้างความเข้าใจและเป็น กลไกแก้ไขปัญหาความขัดแย้งอย่างสันติ และจัดตั้งสภาประชาชนตั้งแต่ระดับหมู่บ้าน ทําหน้าที่เป็น พื้นที่กลางในการแสดงความคิดเห็นในประเด็นต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการพูดคุยสันติสุข การพัฒนาใน ทุกมิติ และความปลอดภัย รวมทั้งจัดระบบการศึกษาในพื้นที่ตั้งแต่ระดับมัธยมศึกษา บรรจุวิชาสันติศึกษา เป็นวิชาบังคับในหลักสูตรการเรียนการสอน เพื่อสร้างนักสันติวิธีตั้งแต่เยาว์วัย 2023-11-24T03:55:36Z 2023-11-24T03:55:36Z 2019 Thesis http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19112 th Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ application/pdf มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์