ระบบธุรกิจอัจฉริยะสำหรับการวิเคราะห์ตัวชี้วัดคุณสมบัติของอาจารย์ตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา

วท.ม. (การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ), 2563

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: สุดธิดา แซ่เบ่า
Other Authors: สูรีนา มะตาหยง
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 2023
Subjects:
Online Access:http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19130
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Prince of Songkhla University
Language: Thai
id th-psu.2016-19130
record_format dspace
institution Prince of Songkhla University
building Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
collection PSU Knowledge Bank
language Thai
topic อาจารย์มหาวิทยาลัย สงขลา
spellingShingle อาจารย์มหาวิทยาลัย สงขลา
สุดธิดา แซ่เบ่า
ระบบธุรกิจอัจฉริยะสำหรับการวิเคราะห์ตัวชี้วัดคุณสมบัติของอาจารย์ตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา
description วท.ม. (การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ), 2563
author2 สูรีนา มะตาหยง
author_facet สูรีนา มะตาหยง
สุดธิดา แซ่เบ่า
format Theses and Dissertations
author สุดธิดา แซ่เบ่า
author_sort สุดธิดา แซ่เบ่า
title ระบบธุรกิจอัจฉริยะสำหรับการวิเคราะห์ตัวชี้วัดคุณสมบัติของอาจารย์ตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา
title_short ระบบธุรกิจอัจฉริยะสำหรับการวิเคราะห์ตัวชี้วัดคุณสมบัติของอาจารย์ตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา
title_full ระบบธุรกิจอัจฉริยะสำหรับการวิเคราะห์ตัวชี้วัดคุณสมบัติของอาจารย์ตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา
title_fullStr ระบบธุรกิจอัจฉริยะสำหรับการวิเคราะห์ตัวชี้วัดคุณสมบัติของอาจารย์ตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา
title_full_unstemmed ระบบธุรกิจอัจฉริยะสำหรับการวิเคราะห์ตัวชี้วัดคุณสมบัติของอาจารย์ตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา
title_sort ระบบธุรกิจอัจฉริยะสำหรับการวิเคราะห์ตัวชี้วัดคุณสมบัติของอาจารย์ตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา
publisher มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
publishDate 2023
url http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19130
_version_ 1784859630522859520
spelling th-psu.2016-191302023-12-04T08:45:30Z ระบบธุรกิจอัจฉริยะสำหรับการวิเคราะห์ตัวชี้วัดคุณสมบัติของอาจารย์ตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา Business Intelligence System For Analyzing of Teacher Qualifications Indicators Based on Criteria of the Graduate Studies Program สุดธิดา แซ่เบ่า สูรีนา มะตาหยง Faculty of Engineering Management of Information Technology คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิชาการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ อาจารย์มหาวิทยาลัย สงขลา วท.ม. (การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ), 2563 According to the Higher Education Commission's Graduate Program Standard Criteria B.E. 2558 (2015), the procedures to determine teacher qualifications consist of several data from different sources to be analyzed. In fact, the different data sources can make process of analysis becomes difficult and more complex. Particularly, in the process of data preparation, if the process is performed manually, it will easily cause errors, difficult to verify accuracy, and the most importantly, it takes a very long time to operate the process. Therefore, this research study aims to design and develop ETL (Extract-Transform-Load) workflow in managing data from different sources and preparing data for analysis. The development of ETL workflow based on Quality Objectives Matrix (Qox) in order to evaluate the quality of data management and preparation for analysis in Business Intelligence (BI) system report. As a result, the evaluation of ETL workflow based on Qox revealed the accuracy at 99.99 percent, the completeness was equal to 1, the efficiency was an average of 17.15 seconds, and the scalability works well when testing with increasing the number of data to 5 times and 10 times respectively. Furthermore, the dashboard report for analyzing of teacher qualifications indicators based on criteria of the graduate studies program in Bl system responded to the needs of graduate studies program operation and management effectively. The results of technology acceptance showed the perceived usefulness is at 4.68. Information quality and perceived ease of use were 4.57 and 4.54 respectively. The technology acceptance evaluation indicates that the BI system helps to improve work performance and it is appropriated to be used for organizational work operation very well. การวิเคราะห์ตัวชี้วัดคุณสมบัติของอาจารย์เพื่อประเมินคุณภาพการจัดการศึกษาให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2558 จําเป็นต้องใช้ข้อมูลเพื่อสนับสนุน การวิเคราะห์ที่หลากหลาย ซึ่งปัญหาการจัดเก็บข้อมูลที่กระจัดกระจายส่งผลให้กระบวนการวิเคราะห์ มีความยุ่งยากและซับซ้อนมากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะขั้นตอนของการจัดเตรียมข้อมูลในกรณีที่ทําด้วยมือ (Manual) อาจก่อให้เกิดความผิดพลาดได้โดยง่ายและมีความยุ่งยากในการตรวจสอบความถูกต้อง สมบูรณ์ รวมทั้งใช้ระยะเวลาในการดําเนินการค่อนข้างมาก งานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อรวบรวม ข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่ใช้ในการวิเคราะห์โดยการพัฒนา ETL เวิร์กโฟลว์ (Extract-Transform- Load) ตามวัตถุประสงค์คุณภาพ สําหรับจัดเตรียมข้อมูลให้ได้ผลลัพธ์ของชุดข้อมูลที่มีความเหมาะสมต่อการวิเคราะห์เพื่อนําไปพัฒนาส่วนแสดงผลด้วยระบบธุรกิจอัจฉริยะ (Business Intelligence) สําหรับวิเคราะห์ตัวชี้วัดคุณสมบัติของอาจารย์ตามเกณฑ์ฯ ดังกล่าว ซึ่งผลจากการประเมินคุณภาพ กระบวนการของ ETL เวิร์กโฟลว์ตามวัตถุประสงค์คุณภาพ (Quality Objective Matrix: QoX) พบว่ากระบวนการของ ETL เวิร์กโฟลว์ที่พัฒนาสามารถจัดการข้อมูลได้ตามความต้องการ โดยมีค่า ความถูกต้องเท่ากับร้อยละ 99.99 ค่าความสมบูรณ์เท่ากับ 1 ระยะเวลาในการประมวลผลโดยเฉลี่ย เท่ากับ 17.15 วินาทีซึ่งเร็วกว่าการจัดเตรียมข้อมูลด้วยมือ (Manual) และสามารถประมวลผลได้เมื่อ ทําการทดสอบเพิ่มจํานวนข้อมูลเป็น 5 เท่า และ 10 เท่าจากข้อมูลเดิม ซึ่งนับว่ามีความยืดหยุ่นต่อ การประมวลผลข้อมูลได้เป็นอย่างดี สําหรับส่วนแสดงผลเพื่อนําเสนอข้อมูลตามตัวชี้วัดต่าง ๆ ด้วยระบบธุรกิจอัจฉริยะ พบว่าสามารถช่วยในการวิเคราะห์ ตรวจสอบ และติดตามความมีคุณสมบัติของอาจารย์ในแต่ละ ประเภทและตอบสนองต่อบริบทการดําเนินงานด้านบัณฑิตศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งผลการประเมินการยอมรับการใช้งานของระบบ พบว่าปัจจัยที่ผู้ตอบแบบสอบถามเห็นว่ามีผลต่อระดับการ ยอมรับการใช้งานเทคโนโลยีสูงสุดคือ ด้านการรับรู้ถึงประโยชน์ที่เกิดจากการใช้งาน ที่ค่าเฉลี่ย 4.68 รองลงมาคือ ด้านคุณภาพข้อมูล และด้านการรับรู้ถึงความง่ายในการใช้งาน ที่ค่าเฉลี่ย 4.57 และ 4.54 ตามลําดับ ซึ่งจากปัจจัยดังกล่าวชี้ให้เห็นว่าระบบสามารถเพิ่มประสิทธิภาพในการทํางาน และเหมาะสมต่อการดําเนินงานในบริบทของหน่วยงานเป็นอย่างดี 2023-12-04T08:45:29Z 2023-12-04T08:45:29Z 2020 Thesis http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19130 th Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ application/pdf มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์