ผลของโปรแกรมการพยาบาลโดยประยุกต์ใช้ทฤษฎีพฤติกรรมตามแผนต่อความตั้งใจและพฤติกรรมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวของมารดาที่ผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องขณะอยู่ในโรงพยาบาล

วิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การผดุงครรภ์))--มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2563

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: นิตยา ไชยรัตน์
Other Authors: ศศิกานต์ กาละ
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 2023
Subjects:
Online Access:http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19133
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Prince of Songkhla University
Language: Thai
id th-psu.2016-19133
record_format dspace
institution Prince of Songkhla University
building Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
collection PSU Knowledge Bank
language Thai
topic การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
การผ่าท้องทำคลอด การพยาบาล
spellingShingle การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
การผ่าท้องทำคลอด การพยาบาล
นิตยา ไชยรัตน์
ผลของโปรแกรมการพยาบาลโดยประยุกต์ใช้ทฤษฎีพฤติกรรมตามแผนต่อความตั้งใจและพฤติกรรมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวของมารดาที่ผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องขณะอยู่ในโรงพยาบาล
description วิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การผดุงครรภ์))--มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2563
author2 ศศิกานต์ กาละ
author_facet ศศิกานต์ กาละ
นิตยา ไชยรัตน์
format Theses and Dissertations
author นิตยา ไชยรัตน์
author_sort นิตยา ไชยรัตน์
title ผลของโปรแกรมการพยาบาลโดยประยุกต์ใช้ทฤษฎีพฤติกรรมตามแผนต่อความตั้งใจและพฤติกรรมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวของมารดาที่ผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องขณะอยู่ในโรงพยาบาล
title_short ผลของโปรแกรมการพยาบาลโดยประยุกต์ใช้ทฤษฎีพฤติกรรมตามแผนต่อความตั้งใจและพฤติกรรมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวของมารดาที่ผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องขณะอยู่ในโรงพยาบาล
title_full ผลของโปรแกรมการพยาบาลโดยประยุกต์ใช้ทฤษฎีพฤติกรรมตามแผนต่อความตั้งใจและพฤติกรรมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวของมารดาที่ผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องขณะอยู่ในโรงพยาบาล
title_fullStr ผลของโปรแกรมการพยาบาลโดยประยุกต์ใช้ทฤษฎีพฤติกรรมตามแผนต่อความตั้งใจและพฤติกรรมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวของมารดาที่ผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องขณะอยู่ในโรงพยาบาล
title_full_unstemmed ผลของโปรแกรมการพยาบาลโดยประยุกต์ใช้ทฤษฎีพฤติกรรมตามแผนต่อความตั้งใจและพฤติกรรมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวของมารดาที่ผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องขณะอยู่ในโรงพยาบาล
title_sort ผลของโปรแกรมการพยาบาลโดยประยุกต์ใช้ทฤษฎีพฤติกรรมตามแผนต่อความตั้งใจและพฤติกรรมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวของมารดาที่ผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องขณะอยู่ในโรงพยาบาล
publisher มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
publishDate 2023
url http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19133
_version_ 1784859631278882816
spelling th-psu.2016-191332023-12-04T09:09:52Z ผลของโปรแกรมการพยาบาลโดยประยุกต์ใช้ทฤษฎีพฤติกรรมตามแผนต่อความตั้งใจและพฤติกรรมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวของมารดาที่ผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องขณะอยู่ในโรงพยาบาล The Effects of Nursing Program Applying the Theory of Planned Behavior on Intention and Behavior of Exclusive Breastfeeding in Hospital Among Mothers with Cesarean Section นิตยา ไชยรัตน์ ศศิกานต์ กาละ Faculty of Nursing (Obstetric and Gynaecologic Nursing and Midwifecy) คณะพยาบาลศาสตร์ ภาควิชาการพยาบาลสูติ-นรีเวชและผดุงครรภ์ การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ การผ่าท้องทำคลอด การพยาบาล วิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การผดุงครรภ์))--มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2563 The purposes of this quasi-experimental research was to study the effect of nursing program applying the theory of planned behavior on intention and behavior of exclusive breastfeeding among mothers with cesarean section during postpartum period in a hospital. Fifty pregnancy womens who attended the antenatal clinic, and subsequently gave birth were recruited, and received care at the postpartum unit of a general hospital in the south. They were allocated to an experimental group (n = 25) who received the nursing program based on the theory of planned behavior or a control group (n = 25) who received routine care. The study instrument consisted of 3 parts, including (1) the intervention instrument, the nursing program applying the theory of planned behavior, (2) the monitoring research instrument: (2.1) the Breastfeeding Attitude of Cesarean Section Mothers Questionnaire, (2.2) the Breastfeeding Attitude of Subjective Norm Questionnaire and (2.3) the Perceived Behavior Control of Breastfeeding Questionnaire, and (3) the data-collecting instrument employed in the research: (3.1) the Breastfeeding Intention of Cesarean Section Mothers Questionnaire and (3.2) the Breastfeeding Behavior of Cesarean Section Mothers Questionnaire. All instruments in this study were content validated by three experts yielding content validity indices (CVI) of .93 .93.90.87 and .95, respectively. The reliabilities of the all questionnaires except (3.2) were tested using Cronbach's alpha coefficient, yielding value of .79 .75 .92 and .90, respectively. The Interrater reliability of the Breastfeeding Behavior of Cesarean Section Mothers Questionnaire yielded a values of .92 The demographic data were analyzed using frequency, percentage, mean, standard deviation, chi-square, and independent t-test. The hypotheses were tested using independent t-test and dependent t-test. The results were summarized as follows: (1) Participants in the experimental group had significantly higher mean score of breastfeeding intention after intervention (M = 52.16, SD = 3.51) than before intervention (M = 42.24, SD = 4.64) (t = 3.50, p < .01); (2) Participants in the experimental group had significantly higher mean score on breastfeeding intention after intervention (M = 52.16, SD = 3.51) than of those in the control group (M = 49.64, SD = 4.72) (t = 2.14, p < .05); (3) Participants in the experimental group had significantly higher mean score on breastfeeding behavior at 24-48 hour postpartum period (M = 18.44, SD = 2.90) than those in the control group (M = 13.88, SD = 2.92) (t = 5.54, p < .001); and (4) Participants in the experimental group had significantly higher mean score on breastfeeding behavior at 48 - 72 hour period (M = 18.68, SD = 2.95) than those in the control group (M = 13.68, SD = 2.88) (t = 6.06, p < .001). The results showed that the nursing program applying the theory of planned behavior involvement could help cesarean section mothers improve their breastfeeding intention and breastfeeding behavior after cesarean section. Therefore, the nurses should apply this nursing program based on the theory of planned behavior to promote exclusive breastfeeding among cesarean section mothers to enhance successful breastfeeding since the initiation of cesarean section. การวิจัยกึ่งทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการพยาบาลโดย ประยุกต์ใช้ทฤษฎีพฤติกรรมตามแผนต่อความตั้งใจและพฤติกรรมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว ของมารดาที่ผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องระยะการดูแลหลังคลอดในโรงพยาบาล เป็นผู้ที่มาฝากครรภ์ คลอดและได้รับการดูแลระยะหลังผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง ในแผนกสูติกรรม ณ โรงพยาบาลทั่วไป แห่งหนึ่งของภาคใต้ คัดเลือกตามคุณสมบัติที่กําหนด จํานวน 50 ราย คัดเลือกเข้ากลุ่มทดลอง (25 ราย) ที่ได้รับโปรแกรมการพยาบาลโดยประยุกต์ใช้ทฤษฎีพฤติกรรมตามแผน และกลุ่มควบคุม (25 ราย) ที่ได้รับการพยาบาลตามปกติ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 3 ส่วน คือ (1) โปรแกรมการพยาบาลโดยประยุกต์ใช้ทฤษฎีพฤติกรรมตามแผน (2) เครื่องมือที่ใช้ในการกํากับ การทดลอง ได้แก่ (2.1) แบบประเมินเจตคติการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ของมารดาที่ผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง (2.2) แบบประเมินเจตคติการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ของบุคคลอ้างอิง และ (2.3) แบบประเมินการรับรู้ ความสามารถในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ของมารดาที่ผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง และ (3) เครื่องมือที่ใช้ ในการรวบรวมข้อมูล คือ (3.1) แบบประเมินความตั้งใจในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ของมารดาที่ผ่าตัด คลอดทางหน้าท้อง และ (3.2) แบบประเมินพฤติกรรมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ของมารดาที่ผ่าตัดคลอด ทางหน้าท้อง เครื่องมือทั้งหมด ผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิจํานวน 3 ท่าน ได้ค่า CVI = .93 93 .90.87 และ 95 ตามลําดับ หาค่าความเที่ยงของเครื่องมือดังกล่าวยกเว้น (3.2) โดยการทดสอบค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของคอนบาค ได้เท่ากับ .79.75 .92 และ 90 ตามลําดับส่วน แบบประเมินพฤติกรรมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ของมารดาที่ผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง ได้ค่าความเที่ยง ระหว่างผู้ประเมิน (Interrater reliability) เท่ากับ .92 วิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปโดยใช้สถิติความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติไคสแควร์ สถิติที่อิสระ และทดสอบสมมติฐานการวิจัยโดยใช้ สถิติทีคู่และสถิติทีอิสระ ผลการศึกษาพบว่า (1) มารดาหลังผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องกลุ่มทดลองที่ได้รับ โปรแกรมการพยาบาลโดยประยุกต์ใช้ทฤษฎีตามแผน มีคะแนนเฉลี่ยความตั้งใจในการเลี้ยงลูกด้วย นมแม่ในระยะหลังผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง (M = 52.16, SD = 3.51) สูงกว่าก่อนได้รับโปรแกรม (M = 48.24, SD = 4.64) อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (t = 3.50, p < .01) (2) มารดาหลังผ่าตัดคลอด ทางหน้าท้องกลุ่มทดลองที่ได้รับโปรแกรมการพยาบาลโดยประยุกต์ใช้ทฤษฎีพฤติกรรมตามแผน มีคะแนนเฉลี่ยความตั้งใจในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ (M = 52.16, SD = 3.51) สูงกว่ากลุ่มควบคุม ที่ได้รับการพยาบาลตามปกติ (M= 49.64, SD = 4.72) อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (t = 2.14, p < .05) (3) มารดาหลังผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง กลุ่มทดลองที่ได้รับโปรแกรมการพยาบาลโดยระยุกต์ใช้ ทฤษฎีพฤติกรรมตามแผนมีคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ระยะ 24 - 48 ชั่วโมง (M = 18.44, SD = 2.90) สูงกว่ากลุ่มควบคุมที่ได้รับการพยาบาลตามปกติ (M= 13.88, SD = 2.92) อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (t = 5.54, p < .001) และ (4) มารดาหลังผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง กลุ่มทดลองที่ได้รับโปรแกรมการพยาบาลโดยประยุกต์ใช้ทฤษฎีพฤติกรรมตามแผนมีคะแนนเฉลี่ย พฤติกรรมในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ระยะ 48 - 72 ชั่วโมง (M = 18.68, SD = 2.95) สูงกว่ากลุ่ม ควบคุมที่ได้รับการพยาบาลตามปกติ (M= 13.68, SD = 2.88) อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (t = 6.06, p < .001) ผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่า โปรแกรมการพยาบาลโดยประยุกต์ใช้ทฤษฎีพฤติกรรม ตามแผน ช่วยให้มารดาหลังผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องมีความตั้งใจ และมีพฤติกรรมในการเลี้ยงลูกด้วย นมแม่ที่เหมาะสมในระยะหลังผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง ดังนั้น พยาบาลจึงควรประยุกต์โปรแกรมการ พยาบาลโดยใช้ทฤษฎีพฤติกรรมตามแผนในการส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวในกลุ่มมารดาที่ผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง เพื่อช่วยให้มารดาสามารถเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ได้อย่างสําเร็จตั้งแต่ ระยะแรกเริ่มหลังผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง 2023-12-04T09:09:32Z 2023-12-04T09:09:32Z 2020 Thesis http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19133 th Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ application/pdf มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์