การบำบัดและการรีไซเคิลคอนเดนเสทจากกระบวนการผลิตผลพลอยได้ของ โรงงานทูน่ากระป๋อง

วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (เคมีประยุกต์), 2566

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: ทรงฤทธิ์ ใบดุเก็ม
Other Authors: รัตนา จริยาบูรณ์
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 2023
Subjects:
Online Access:http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19161
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Prince of Songkhla University
Language: Thai
id th-psu.2016-19161
record_format dspace
spelling th-psu.2016-191612023-12-07T08:52:53Z การบำบัดและการรีไซเคิลคอนเดนเสทจากกระบวนการผลิตผลพลอยได้ของ โรงงานทูน่ากระป๋อง Treatment and recycling of Condensate from By-Products Production Process of Canned Tuna Factory ทรงฤทธิ์ ใบดุเก็ม รัตนา จริยาบูรณ์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ Faculty of Science and Technology (Science programs) Water recyling Condensate Caned tuna Adsorption Activated carbon วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (เคมีประยุกต์), 2566 This research aimed to treat the condensate from by-product production processes of canned tuna factories and recycle to the fish oil production process by reducing pH and remove the odors by using commercial activated carbon, Eunicarb ID900. The research began with a study of the effect of pH (7-9) on the elimination of COD (parameters representing odors) and followed by a semi-industrial continuous adsorption study to treat condensate water in the actual process. The result showed that a faster absorption rate was achieved at lower pH while higher COD removal obtained at higher pH with the highest COD removal efficiency of 90%. The adsorption was fitted well with Pseudo-second order kinetic absorption and Freundlich's adsorption isotherm. The study of semi-industrial condensate water treatment using 15 cm diameter and 150 cm in height adsorbent columns revealed that at all the study range flow rate of condensate water (pH adjustment to 7.3 ± 0.1) of 0.5 - 2.5 m3/h, can effectively remove the pungent odor and produce the higher condensate water which meet the limitation of water for fish oil extraction manufacturing. Furthermore, the treatment system was continuously run at an actual condensate production rate at flow rate of 2.5 m3/h, and 6 months operation cycle was suggested. No effect in both quantitative and qualitative quality of fish oil was observed after processing with the treated condensate. The economic assessment for the actual plant evaluates the cost for condensate treatment of 8.14 Baht/m3, saving for the feed water and condensate treatment of 202,500 Baht/year, and a payback period of 2.86 years. งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการบำบัดน้ำคอนเดนเสทจากกระบวนการผลิตผลพลอยได้ของโรงงานผลิตปลาทูน่ากระป๋องเพื่อนำกลับไปใช้ในกระบวนการผลิตน้ำมันปลา โดยการปรับลด pH และการดูดซับกลิ่นด้วยถ่านกัมมันต์ทางการค้า Eunicarb ID900 งานวิจัยเริ่มต้นด้วยการศึกษาผลของ pH (7.0-9.0) ต่อการกำจัดซีโอดี (พารามิเตอร์ที่เป็นตัวแทนของกลิ่น) ด้วยถ่านกัมมันต์ในระดับห้องปฏิบัติการ ตามด้วยการศึกษาการดูดซับแบบต่อเนื่องในระดับกึ่งอุตสาหกรรมเพื่อบำบัดน้ำคอนเดนเสทในกระบวนการจริง จากการทดลองพบว่า ที่ pH ต่ำมีอัตราการดูดซับที่เร็วกว่า ในขณะที่ที่ pH สูงสามารถกำจัดซีโอดีได้สูงสุดมากกว่า 90% การดูดซับสอดคล้องกับสมการอัตราการดูดซับอันดับสองเทียม และไอโซเทอมการดูดซับตามสมการฟรุนดลิช จากการศึกษาการบำบัดน้ำคอนเดนเสทในระดับกึ่งอุตสาหกรรมโดยใช้คอลัมน์ดูดซับที่มีขนาด เส้นผ่านศูนย์กลาง 15 เซนติเมตร สูง 150 เซนติเมตร พบว่าที่ทุกอัตราการไหลของน้ำคอนเดนเสท (ปรับ pH เป็น 7.3–7.5) ที่ใช้ในการทดลองคือ 0.5 - 2.5 ลบ.ม./ชม. สามารถกำจัดกลิ่นฉุนและน้ำคอนเดนเสทหลังบำบัดมีคุณภาพดีขึ้นและผ่านมาตรฐานน้ำใช้ในกระบวนการผลิตน้ำมันปลาที่บริษัทกำหนด นอกจากนี้ได้ศึกษาอายุการใช้งานของถ่านกัมมันต์ต่อการบำบัดน้ำคอนเดนเสทแบบต่อเนื่องที่อัตราการไหล 2.5 ลบ.ม./ชม. ซึ่งเป็นอัตราการไหลที่สอดคล้องกับอัตราการผลิตคอนเดนเสทจริงของบริษัทพบว่ามีวัฏจักรการเดินระบบอย่างมีประสิทธิภาพเท่ากับ 6 เดือน และหลังนำกลับไปใช้ ในกระบวนการผลิตน้ำมันปลา พบว่าไม่มีผลกระทบต่อสินค้าน้ำมันปลาทั้งในเชิงคุณภาพและปริมาณ เมื่อประเมินความเป็นไปได้ทางเศรษฐศาสตร์ในการติดตั้งระบบบำบัดน้ำคอนเดนเสทด้วยการดูดซับโดยถ่านกัมมันต์สำหรับโรงงานจริงพบว่ามีต้นทุนในการบำบัดเท่ากับ 8.14 บาท/ลบ.ม. สามารถประหยัดต้นทุนของน้ำป้อนเข้ากระบวนการผลิตและการบำบัดน้ำคอนเดนเสทได้ 202,500 บาท/ปี ให้ระยะเวลาคืนทุนเท่ากับ 2.86 ปี 2023-12-07T08:52:17Z 2023-12-07T08:52:17Z 2023 Thesis http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19161 th Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ application/pdf มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
institution Prince of Songkhla University
building Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
collection PSU Knowledge Bank
language Thai
topic Water recyling
Condensate
Caned tuna
Adsorption
Activated carbon
spellingShingle Water recyling
Condensate
Caned tuna
Adsorption
Activated carbon
ทรงฤทธิ์ ใบดุเก็ม
การบำบัดและการรีไซเคิลคอนเดนเสทจากกระบวนการผลิตผลพลอยได้ของ โรงงานทูน่ากระป๋อง
description วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (เคมีประยุกต์), 2566
author2 รัตนา จริยาบูรณ์
author_facet รัตนา จริยาบูรณ์
ทรงฤทธิ์ ใบดุเก็ม
format Theses and Dissertations
author ทรงฤทธิ์ ใบดุเก็ม
author_sort ทรงฤทธิ์ ใบดุเก็ม
title การบำบัดและการรีไซเคิลคอนเดนเสทจากกระบวนการผลิตผลพลอยได้ของ โรงงานทูน่ากระป๋อง
title_short การบำบัดและการรีไซเคิลคอนเดนเสทจากกระบวนการผลิตผลพลอยได้ของ โรงงานทูน่ากระป๋อง
title_full การบำบัดและการรีไซเคิลคอนเดนเสทจากกระบวนการผลิตผลพลอยได้ของ โรงงานทูน่ากระป๋อง
title_fullStr การบำบัดและการรีไซเคิลคอนเดนเสทจากกระบวนการผลิตผลพลอยได้ของ โรงงานทูน่ากระป๋อง
title_full_unstemmed การบำบัดและการรีไซเคิลคอนเดนเสทจากกระบวนการผลิตผลพลอยได้ของ โรงงานทูน่ากระป๋อง
title_sort การบำบัดและการรีไซเคิลคอนเดนเสทจากกระบวนการผลิตผลพลอยได้ของ โรงงานทูน่ากระป๋อง
publisher มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
publishDate 2023
url http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19161
_version_ 1784859639690559488