ผลของเปลือกทุเรียนหมักด้วยแบคทีเรียกรดแลคติกและสารเสริมต่อการย่อยได้ของโภชนะ นิเวศวิทยาในกระเพาะรูเมน และการใช้ประโยชน์ ของไนโตรเจนในอาหารแพะ
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สัตวศาสตร์), 2565
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
2023
|
Subjects: | |
Online Access: | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19173 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Prince of Songkhla University |
Language: | Thai |
id |
th-psu.2016-19173 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-psu.2016-191732023-12-18T03:45:36Z ผลของเปลือกทุเรียนหมักด้วยแบคทีเรียกรดแลคติกและสารเสริมต่อการย่อยได้ของโภชนะ นิเวศวิทยาในกระเพาะรูเมน และการใช้ประโยชน์ ของไนโตรเจนในอาหารแพะ Effect of Durian Peel Fermented with Lactic Acid Bacteria and Additives on Nutrient Digestibility, Rumen Ecology and Nitrogen Utilization in Goat Ration ณัฐชา ปัญญาวุฒิ ปิ่น จันจุฬา Faculty of Natural Resources (Animal science) คณะทรัพยากรธรรมชาติ ภาควิชาสัตวศาสตร์ เปลือกทุเรียนหมัก แบคทีเรียกรดแลคติก เมแทบอไลท์ในกระแสเลือด แพะ วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สัตวศาสตร์), 2565 The objective of this study was to evaluate the effect of fermented discarded-durian peel with lactic acid bacteria (Lactobacillus casei TH14), cellulase and molasses alone or their combination in a total mixed ration on feed utilization, digestibility, ruminal fermentation, and nitrogen utilization in growing crossbred Thai native-Anglo-Nubian goats. Five crossed breed Thai native-Anglo-Nubian goats (50%) at 9 to 12 months of ages and 20±1 of body weight (BW) was assigned to a 5 × 5 Latin square design. Evaluated treatments were fermented discarded-durian peel without additives (FDP), fermented discarded-durian peel with 5% of molasses (FDPM), fermented discarded-durian peel with 2% of cellulase (FDPC), fermented discarded-durian peel with 1.0 × 105 cfu/g fresh matter of L. casei TH14 (FDPL), and fermented discarded-durian peel with 5% of molasses and 1.0 × 105 cfu/g fresh matter of L. casei TH14 (FDPML). This study showed that acid detergent fiber intake was different (P<0.05) between FDP and FDPML, at 0.24 g/d and 0.20 g/d, respectively. FDPML had significantly (P<0.05) greater apparent nutrient digestibility and propionate concentration compared with other treatments. FDPML reduced the acetate to propionate ratio, methane production, and urinary nitrogen significantly (P<0.05). Based on this experiment, treating discarded-durian peel with molasses and L. casei TH14 in combination could add 25% on a dry matter basis into the diet for growing goats without negative impact. ศูนย์วิจัยความเป็นเลิศเทคโนโลยีชีวภาพเกษตรและทรัพยากรธรรมชาติ ระยะที่ 3 (CoE-ANRB: phase 3) การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของเปลือกทุเรียนที่หมักด้วยแบคทีเรียกรดแลคติก (แลคโตบาซิลลัส คาเซอิ TH14) เอนไซม์เซลลูเลส และกากน้ำตาลหรือร่วมกันในอาหารผสมสูตรรวมต่อการใช้ประโยชน์ของอาหาร การย่อยได้ กระบวนการหมักในกระเพาะรูเมน และการใช้ประโยชน์ของไนโตรเจนในแพะลูกผสมพันธุ์พื้นเมือง-แองโกนูเบียน โดยศึกษาในแพะลูกผสมพันธุ์พื้นเมือง-แองโกนูเบียน 50 เปอร์เซ็นต์ เพศผู้ น้ำหนักเฉลี่ย 20.0±1.0 กิโลกรัม ใช้แผนการทดลองแบบ 5×5 ลาตินสแควร์ แพะทุกตัวได้รับอาหารผสมสูตรรวม 5 สูตร ที่มีเปลือกทุเรียนหมักไม่ใส่สารเสริม (กลุ่มควบคุม) เปลือกทุเรียนหมักร่วมกับกากน้ำตาล 5 เปอร์เซ็นต์ เปลือกทุเรียนหมักเอนไซม์เซลลูเลส 2 เปอร์เซ็นต์ เปลือกทุเรียนหมักด้วยแลคโตบาซิลลัส คาเซอิ TH14 1.0 × 105 cfu/g และเปลือกทุเรียนหมักด้วยกากน้ำตาล 5 เปอร์เซ็นต์ ร่วมกับแลคโตบาซิลลัส คาเซอิ TH14 1.0 × 105 cfu/g ผลการทดลอง พบว่า ปริมาณการกินได้ของเยื่อใยที่ไม่ละลายสารฟอกที่เป็นกรดมีความแตกต่างกัน (P<0.05) ระหว่างเปลือกทุเรียนหมักไม่ใส่สารเสริม และเปลือกทุเรียนหมักด้วยกากน้ำตาลร่วมกับแลคโตบาซิลลัส คาเซอิ TH14 เท่ากับ 0.24 กรัมต่อวัน และ 0.20 กรัมต่อวัน ตามลำดับ อาหารกลุ่มที่มีเปลือกทุเรียนหมักด้วยกากน้ำตาลร่วมกับแลคโตบาซิลลัส คาเซอิ TH14 มีสัมประสิทธิ์การย่อยได้ของโภชนะ และค่าความเข้มข้นของกรดโพรพิออนิกดีกว่า (P<0.05) เมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มอื่น และพบว่าอาหารกลุ่มที่มีเปลือกทุเรียนหมักด้วยกากน้ำตาลร่วมกับแลคโตบาซิลลัส คาเซอิ TH14 สามารถลดสัดส่วนความเข้มข้นของนกรดอะซิติกต่อกรด-โพรพิออนิก การผลิตแก๊สเมทเธนได้ และการขับไนโตรเจนทางปัสสาวะ (P<0.05) ดังนั้นจึงสามารถใช้เปลือกทุเรียนที่หมักด้วยกากน้ำตาลร่วมกับแลคโตบาซิลลัส คาเซอิ TH14 สามารถใช้ได้ระดับ 25 เปอร์เซ็นต์ของวัตถุแห้งในสูตรอาหารสำหรับแพะรุ่นโดยไม่ส่งผลกระทบด้านลบต่อแพะ 2023-12-18T03:45:18Z 2023-12-18T03:45:18Z 2022 Thesis http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19173 th Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ application/pdf มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |
institution |
Prince of Songkhla University |
building |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
collection |
PSU Knowledge Bank |
language |
Thai |
topic |
เปลือกทุเรียนหมัก แบคทีเรียกรดแลคติก เมแทบอไลท์ในกระแสเลือด แพะ |
spellingShingle |
เปลือกทุเรียนหมัก แบคทีเรียกรดแลคติก เมแทบอไลท์ในกระแสเลือด แพะ ณัฐชา ปัญญาวุฒิ ผลของเปลือกทุเรียนหมักด้วยแบคทีเรียกรดแลคติกและสารเสริมต่อการย่อยได้ของโภชนะ นิเวศวิทยาในกระเพาะรูเมน และการใช้ประโยชน์ ของไนโตรเจนในอาหารแพะ |
description |
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สัตวศาสตร์), 2565 |
author2 |
ปิ่น จันจุฬา |
author_facet |
ปิ่น จันจุฬา ณัฐชา ปัญญาวุฒิ |
format |
Theses and Dissertations |
author |
ณัฐชา ปัญญาวุฒิ |
author_sort |
ณัฐชา ปัญญาวุฒิ |
title |
ผลของเปลือกทุเรียนหมักด้วยแบคทีเรียกรดแลคติกและสารเสริมต่อการย่อยได้ของโภชนะ นิเวศวิทยาในกระเพาะรูเมน และการใช้ประโยชน์ ของไนโตรเจนในอาหารแพะ |
title_short |
ผลของเปลือกทุเรียนหมักด้วยแบคทีเรียกรดแลคติกและสารเสริมต่อการย่อยได้ของโภชนะ นิเวศวิทยาในกระเพาะรูเมน และการใช้ประโยชน์ ของไนโตรเจนในอาหารแพะ |
title_full |
ผลของเปลือกทุเรียนหมักด้วยแบคทีเรียกรดแลคติกและสารเสริมต่อการย่อยได้ของโภชนะ นิเวศวิทยาในกระเพาะรูเมน และการใช้ประโยชน์ ของไนโตรเจนในอาหารแพะ |
title_fullStr |
ผลของเปลือกทุเรียนหมักด้วยแบคทีเรียกรดแลคติกและสารเสริมต่อการย่อยได้ของโภชนะ นิเวศวิทยาในกระเพาะรูเมน และการใช้ประโยชน์ ของไนโตรเจนในอาหารแพะ |
title_full_unstemmed |
ผลของเปลือกทุเรียนหมักด้วยแบคทีเรียกรดแลคติกและสารเสริมต่อการย่อยได้ของโภชนะ นิเวศวิทยาในกระเพาะรูเมน และการใช้ประโยชน์ ของไนโตรเจนในอาหารแพะ |
title_sort |
ผลของเปลือกทุเรียนหมักด้วยแบคทีเรียกรดแลคติกและสารเสริมต่อการย่อยได้ของโภชนะ นิเวศวิทยาในกระเพาะรูเมน และการใช้ประโยชน์ ของไนโตรเจนในอาหารแพะ |
publisher |
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |
publishDate |
2023 |
url |
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19173 |
_version_ |
1787137890896052224 |