กายวิภาคศาสตร์ใบและสัณฐานวิทยาเรณูของพืชสกุลตําหยาว (วงศ์กระดังงา) ในประเทศไทย

วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (ชีววิทยา (นานาชาติ)), 2566

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: อริสา สมพรหม
Other Authors: จรัล ลีรติวงศ์
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 2023
Subjects:
Online Access:http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19217
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Prince of Songkhla University
Language: Thai
id th-psu.2016-19217
record_format dspace
institution Prince of Songkhla University
building Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
collection PSU Knowledge Bank
language Thai
topic กายวิภาคศาสตร์ใบและสัณฐานวิทยาเรณู
พืชสกุลตำหยาว วงศ์กระดังงา
spellingShingle กายวิภาคศาสตร์ใบและสัณฐานวิทยาเรณู
พืชสกุลตำหยาว วงศ์กระดังงา
อริสา สมพรหม
กายวิภาคศาสตร์ใบและสัณฐานวิทยาเรณูของพืชสกุลตําหยาว (วงศ์กระดังงา) ในประเทศไทย
description วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (ชีววิทยา (นานาชาติ)), 2566
author2 จรัล ลีรติวงศ์
author_facet จรัล ลีรติวงศ์
อริสา สมพรหม
format Theses and Dissertations
author อริสา สมพรหม
author_sort อริสา สมพรหม
title กายวิภาคศาสตร์ใบและสัณฐานวิทยาเรณูของพืชสกุลตําหยาว (วงศ์กระดังงา) ในประเทศไทย
title_short กายวิภาคศาสตร์ใบและสัณฐานวิทยาเรณูของพืชสกุลตําหยาว (วงศ์กระดังงา) ในประเทศไทย
title_full กายวิภาคศาสตร์ใบและสัณฐานวิทยาเรณูของพืชสกุลตําหยาว (วงศ์กระดังงา) ในประเทศไทย
title_fullStr กายวิภาคศาสตร์ใบและสัณฐานวิทยาเรณูของพืชสกุลตําหยาว (วงศ์กระดังงา) ในประเทศไทย
title_full_unstemmed กายวิภาคศาสตร์ใบและสัณฐานวิทยาเรณูของพืชสกุลตําหยาว (วงศ์กระดังงา) ในประเทศไทย
title_sort กายวิภาคศาสตร์ใบและสัณฐานวิทยาเรณูของพืชสกุลตําหยาว (วงศ์กระดังงา) ในประเทศไทย
publisher มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
publishDate 2023
url http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19217
_version_ 1787137878480912384
spelling th-psu.2016-192172023-12-19T07:21:22Z กายวิภาคศาสตร์ใบและสัณฐานวิทยาเรณูของพืชสกุลตําหยาว (วงศ์กระดังงา) ในประเทศไทย Leaf Anatomy and Pollen Morphology of the Genus Alphonsea Hook.f. & Thomson (Annonaceae) in Thailand อริสา สมพรหม จรัล ลีรติวงศ์ Faculty of Science (Biology) คณะวิทยาศาสตร์ ภาควิชาชีววิทยา กายวิภาคศาสตร์ใบและสัณฐานวิทยาเรณู พืชสกุลตำหยาว วงศ์กระดังงา วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (ชีววิทยา (นานาชาติ)), 2566 Leaf epidermal anatomy and pollen morphology of the genus Alphonsea Hook.f. & Thomson in Thailand were studied. The comparative anatomy of leaf in 15 species by the peeling method. The common characteristics are as follows: There are two types of epidermal cell shape are amorphous with sinuate anticlinal walls and jigsaw-like with cleft concave anticlinal walls. Two stomatal types are paracytic and para-tetracytic. Stomatal length ranges from 21.15±1.69 to 26.85±2.30 micrometers. The stomatal density varies from 155.00±23.21 to 373.00±88.58 stomata per area. The stomatal index varies from 12.60±1.87 to 19.41±0.77%. Two types of crystal are druse and prismatic crystal. One type of hair is multicellular, which is found in most species of uniseriate hair. The comparative anatomy of the leaf by paraffin technique of the leaf blade and petiole is as follows: most of the plants that were examined have one cell layer in the upper epidermis. Only one species has 1-2 cell layers. The height of a cell ranges from 12.50 to 42.50 micrometers. The epidermal cell of the midrib of most plants has 1-2 cell layers; six species have only one cell layer. The height of a cell ranges from 5.00-37.50 micrometers. There is only one cell layer on the lower epidermis of the leaf blade and midrib. Leaf blade: the height of a cell ranges from 17.50 to 12.50 micrometers. Midrib: the height of a cell ranges from 5.00 to 12.50 micrometers. Two types of leaf margins are curve downward and straight leaf margins. All the plants studied had thick cuticles. Vascular tissue is a collateral vascular bundle. An overview of the vascular bundle has two characteristics are viewed in a heart-like and semicircular shape. Four types of petiole shape in cross section are terete, cordate, semi-terete, and butterfly-like. The pollen morphology of 14 species in the genus Alphonsea were observed by using light and scanning electron microscopes. The common characters of pollen are monad, apolar, radial symmetry and inaperturate. The length of the average diameter is between 41.00±1.75 to 50.00±3.33 micrometers. The shape of pollen is spheroidal. The exine is thick and ranges 1.38±0.40 to 3.50±1.29 micrometers. Three types of exine ornamentation are fossulate, rugulate, and fossulate mixed with scabrate. This study revealed the following results: the leaf anatomy of the genus can help identify species with similar external morphology. Study of the pollen morphology of plants in this genus cannot be clearly identified the species level, although a pattern on exine ornamentation can be used to classify plants into 3 groups. Therefore, the investigation of leaf anatomy and pollen morphology in the genus Alphonsea in Thailand can be applied to support the taxonomic and other studies into more complete knowledge. ศึกษากายวิภาคศาสตร์ใบและสัณฐานวิทยาเรณูของพืชสกุลตำหยาวในประเทศไทย ศึกษาลักษณะทางกายวิภาคศาสตร์ใบจำนวน 15 ชนิด โดยวิธีการลอกผิวใบ พบลักษณะทั่วไปของเนื้อเยื่อชั้นผิวใบดังนี้ รูปร่างเซลล์ในเนื้อเยื่อชั้นผิวใบมี 2 ลักษณะ คือ เซลล์ในเนื้อเยื่อชั้นผิวใบรูปร่างไม่แน่นอน ผนังด้านตั้งฉากกับผิวเว้าคลื่น และเซลล์ในเนื้อเยื่อชั้นผิวใบรูปร่างคล้าย จิกซอว์ ผนังด้านตั้งฉากกับผิวเว้าลึก ปากใบมี 2 แบบ คือ แบบพาราไซติกและแบบพาราเททระไซติก ความยาวเฉลี่ยของปากใบมีค่าระหว่าง 21.15±1.69 ถึง 26.85±2.30 ไมโครเมตร ความหนาแน่นเฉลี่ยของปากใบมีค่าระหว่าง 155.00±23.21 ถึง 373.00±88.58 ปากใบต่อพื้นที่ และดัชนีเฉลี่ยของปากใบมีค่าระหว่าง 12.60±1.87 ถึง 19.41±0.77 เปอร์เซ็นต์ มีสารสะสม 2 แบบ ได้แก่ สารสะสมผลึกรูปดาวและสารสะสมผลึกรูปปริซึม พืชที่ศึกษาส่วนใหญ่มีขนหนึ่งชนิด คือ ขนหลายเซลล์แบบเรียงแถวเดียว การตัดตามขวางด้วยวิธีการพาราฟฟินของแผ่นใบและก้านใบ พบลักษณะทั่วไปดังนี้ พืชที่ศึกษาส่วนใหญ่มีเซลล์ในเนื้อเยื่อชั้นผิวใบด้านบน จำนวน 1 ชั้นเซลล์ มีเพียง 1 ชนิด ที่เซลล์ในเนื้อเยื่อชั้นผิวใบ มีจำนวน 1-2 ชั้นเซลล์ มีความสูงของเซลล์ระหว่าง 12.50-42.50 ไมโครเมตร เซลล์ในเนื้อเยื่อชั้นผิวใบบริเวณเส้นกลางใบของพืชส่วนใหญ่ มีจำนวน 1-2 ชั้นเซลล์ พบ 6 ชนิดที่มีจำนวน 1 ชั้นเซลล์ มีความสูงของเซลล์ระหว่าง 5.00-37.50 ไมโครเมตร และเซลล์ในเนื้อเยื่อชั้นผิวใบด้านล่างทั้งสองบริเวณ มีจำนวน 1 ชั้นเซลล์ บริเวณแผ่นใบเซลล์มีความสูงระหว่าง 17.50-12.50 ไมโครเมตร บริเวณเส้นกลางใบเซลล์มีความสูงระหว่าง 5.00-12.50 ไมโครเมตร ลักษณะของขอบใบมี 2 ลักษณะ ได้แก่ ขอบใบโค้งลงด้านล่าง และขอบใบตรง พืชทุกชนิดที่ศึกษาผิวเคลือบคิวทินมีลักษณะหนา เนื้อเยื่อลำเลียงเป็นแบบมัดท่อลำเลียงเคียงข้าง รูปร่างในภาพรวมของกลุ่มเนื้อเยื่อลำเลียงมี 2 แบบ คือ แบบรูปคล้ายหัวใจและแบบรูปครึ่งวงกลม และรูปร่างของก้านใบตัดตามขวางมี 4 แบบ คือ รูปกลมหรือรูปเกือบกลม รูปคล้ายหัวใจ รูปครึ่งวงกลม และรูปคล้ายรูปผีเสื้อ การศึกษาสัณฐานวิทยาเรณูของพืชสกุลตำหยาว จำนวน 14 ชนิด โดยศึกษาภายใต้กล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสง และกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราด พบลักษณะทั่วไปเป็นดังนี้ เรณูแบบเดี่ยว ขั้วเป็นแบบ apolar สมมาตรแนวรัศมี ไม่มีช่องเปิด มีความยาวของเส้นผ่านศูนย์กลางเฉลี่ยระหว่าง 41.00±1.75 ถึง 50.00±3.33 ไมโครเมตร รูปร่างแบบ spheroidal ผนังชั้นนอกหนาเฉลี่ยระหว่าง 1.38±0.40 ถึง 3.50±1.29 ไมโครเมตร และลวดลายบนผนังชั้นนอกมี 3 แบบ ได้แก่ แบบ fossulate, rugulate และแบบ fossulate ผสมกับแบบ scabrate จากการศึกษาในครั้งนี้พบว่า ลักษณะกายวิภาคศาสตร์ใบของพืชสกุลตำหยาวสามารถช่วยในการระบุชนิดของพืชที่มีสัณฐานวิทยาที่คล้ายคลึงกันได้ และการศึกษาสัณฐานวิทยาเรณูของพืชในสกุลนี้ แม้ว่าจะไม่สามารถระบุชนิดของพืชได้อย่างชัดเจน แต่สามารถจัดจำแนกพืชออกเป็น 3 กลุ่มได้ โดยใช้ลวดลายบนผนังชั้นนอกของเรณู ดังนั้นการศึกษาลักษณะ กายวิภาคศาสตร์ของใบและสัณฐานวิทยาเรณูของพืชสกุลตำหยาวของประเทศไทยในครั้งนี้ สามารถใช้เป็นข้อมูลในการสนับสนุนการศึกษาทางอนุกรมวิธานและการศึกษาด้านอื่น ๆ เพื่อให้ได้ความรู้ที่สมบูรณ์มากยิ่งขึ้น 2023-12-19T07:21:21Z 2023-12-19T07:21:21Z 2023 Thesis http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19217 th Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ application/pdf มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์