ผลของโปรแกรมปรึกษาแบบกลุ่มมาราธอนตามแนวคิด Satir Model ต่อการรับรู้ความสามารถของตนในการป้องกันการเสพซ้ำของผู้เข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด

ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (จิตวิทยา), 2566

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: อนงค์ อินทองแก้ว
Other Authors: สุใจ ส่วนไพโรจน์
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 2023
Subjects:
Online Access:http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19223
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Prince of Songkhla University
Language: Thai
id th-psu.2016-19223
record_format dspace
spelling th-psu.2016-192232023-12-19T09:20:28Z ผลของโปรแกรมปรึกษาแบบกลุ่มมาราธอนตามแนวคิด Satir Model ต่อการรับรู้ความสามารถของตนในการป้องกันการเสพซ้ำของผู้เข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด The Effects of Program Marathon Counseling Group for Satir Model in Self efficacy for Relapse Prevention of Drug Addict, Drug Addict Rehabilitation อนงค์ อินทองแก้ว สุใจ ส่วนไพโรจน์ Faculty of Education (Psychology and Counseling) คณะศึกษาศาสตร์ ภาควิชาจิตวิทยาและการแนะแนว โปรแกรมปรึกษาแบบกลุ่มมาราธอนตามแนวคิด Satir Model, ความภูมิใจแห่งตน การทดสอบ การฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด ยาเสพติด การป้องกันและควบคุม ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (จิตวิทยา), 2566 This study uses a one-group pre- and post-test design to examine the impact of the Marathon group counseling program based on the Satir model on self-efficacy perception in relapse prevention. It is experimental research without a control group. 13 people who were chosen for the sample through purposeful sampling were included. Two research tools were employed in this study: First, a general questionnaire and a relapse prevention questionnaire's self-efficacy perception are used as data collection tools. Second, there are 7 activities in the Satir model-based marathon group treatment program. It takes place over the course of 2 days and 1 night (20 hours). The effectiveness of the program instrument was assessed with the help of three experts using percentage, average, standard deviation, and post-hoc analysis. According to the study's findings, there is a degree of significance of.01 between the participants' pre-test and post-test scores on the relapse prevention test, and the post-test score is greater than the pre-test score. The assessment results of their own relapse prevention skills have generally improved since the application of this approach. การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลอง (experimental Research) ใช้แบบแผนการทดลองแบบศึกษากลุ่มเดียววัดซ้ำ (One Group Pretest - Post-test Design) ไม่มีกลุ่มควบคุม เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมปรึกษาแบบกลุ่มมาราธอนตามแนวคิด Satir Model ต่อการรับรู้ความสามารถของตนในการป้องกันการเสพซ้ำ ของผู้เข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้เข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดจำนวน 13 คน คัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจง เครื่องมือในการทำวิจัยมี 2 ส่วน ได้แก่ 1) เครื่องที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลทั่วไปและแบบวัดการรับรู้ความสามารถของตนในการป้องกัน การเสพซ้ำ 2) โปรแกรมปรึกษาแบบกลุ่มมาราธอนตามแนวคิด Satir Model ประกอบด้วย 7 กิจกรรม ระยะเวลาในการดำเนินกิจกรรม 2 วัน 1 คืน รวมจำนวน 20 ชั่วโมง วิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยคะแนนก่อนการทดลองและหลังการทดลอง ใช้สถิติ Paired-sample t-test ผลการวิจัยพบว่า คะแนนการรับรู้ความสามารถของตนในการป้องกันการเสพซ้ำ ของผู้เข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดก่อนและหลังการเข้าโปรแกรมแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยหลังการเข้าโปรแกรมมีคะแนนการรับรู้ความสามารถ ในการป้องกันการเสพซ้ำสูงกว่าก่อนเข้าโปรแกรม ซึ่งระดับการรับรู้ความสามารถของตน ในการป้องกันการเสพซ้ำของผู้เข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดโดยภาพรวมมีพัฒนาการ ที่ดีขึ้นกว่าก่อนเข้าโปรแกรม 2023-12-19T09:16:23Z 2023-12-19T09:16:23Z 2023 Thesis http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19223 th Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ application/pdf มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
institution Prince of Songkhla University
building Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
collection PSU Knowledge Bank
language Thai
topic โปรแกรมปรึกษาแบบกลุ่มมาราธอนตามแนวคิด Satir Model,
ความภูมิใจแห่งตน การทดสอบ
การฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด
ยาเสพติด การป้องกันและควบคุม
spellingShingle โปรแกรมปรึกษาแบบกลุ่มมาราธอนตามแนวคิด Satir Model,
ความภูมิใจแห่งตน การทดสอบ
การฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด
ยาเสพติด การป้องกันและควบคุม
อนงค์ อินทองแก้ว
ผลของโปรแกรมปรึกษาแบบกลุ่มมาราธอนตามแนวคิด Satir Model ต่อการรับรู้ความสามารถของตนในการป้องกันการเสพซ้ำของผู้เข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด
description ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (จิตวิทยา), 2566
author2 สุใจ ส่วนไพโรจน์
author_facet สุใจ ส่วนไพโรจน์
อนงค์ อินทองแก้ว
format Theses and Dissertations
author อนงค์ อินทองแก้ว
author_sort อนงค์ อินทองแก้ว
title ผลของโปรแกรมปรึกษาแบบกลุ่มมาราธอนตามแนวคิด Satir Model ต่อการรับรู้ความสามารถของตนในการป้องกันการเสพซ้ำของผู้เข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด
title_short ผลของโปรแกรมปรึกษาแบบกลุ่มมาราธอนตามแนวคิด Satir Model ต่อการรับรู้ความสามารถของตนในการป้องกันการเสพซ้ำของผู้เข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด
title_full ผลของโปรแกรมปรึกษาแบบกลุ่มมาราธอนตามแนวคิด Satir Model ต่อการรับรู้ความสามารถของตนในการป้องกันการเสพซ้ำของผู้เข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด
title_fullStr ผลของโปรแกรมปรึกษาแบบกลุ่มมาราธอนตามแนวคิด Satir Model ต่อการรับรู้ความสามารถของตนในการป้องกันการเสพซ้ำของผู้เข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด
title_full_unstemmed ผลของโปรแกรมปรึกษาแบบกลุ่มมาราธอนตามแนวคิด Satir Model ต่อการรับรู้ความสามารถของตนในการป้องกันการเสพซ้ำของผู้เข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด
title_sort ผลของโปรแกรมปรึกษาแบบกลุ่มมาราธอนตามแนวคิด satir model ต่อการรับรู้ความสามารถของตนในการป้องกันการเสพซ้ำของผู้เข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด
publisher มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
publishDate 2023
url http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19223
_version_ 1787137879642734592