กรอบแนวคิดสำหรับระบบแนะนำโดยอาศัยบริบทของนักท่องเที่ยวเชิงกีฬา
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (เทคโนโลยีสารสนเทศ), 2566
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
2023
|
Subjects: | |
Online Access: | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19242 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Prince of Songkhla University |
Language: | Thai |
id |
th-psu.2016-19242 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Prince of Songkhla University |
building |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
collection |
PSU Knowledge Bank |
language |
Thai |
topic |
ระบบแนะนำ การรับรู้บริบท การท่องเที่ยวเชิงกีฬา ออนโทโลยี เว็บเชิงความหมาย กฎเชิงความหมาย |
spellingShingle |
ระบบแนะนำ การรับรู้บริบท การท่องเที่ยวเชิงกีฬา ออนโทโลยี เว็บเชิงความหมาย กฎเชิงความหมาย วสุภณ ตัณฑวณิชย์ กรอบแนวคิดสำหรับระบบแนะนำโดยอาศัยบริบทของนักท่องเที่ยวเชิงกีฬา |
description |
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (เทคโนโลยีสารสนเทศ), 2566 |
author2 |
อดิศักดิ์ อินทนา |
author_facet |
อดิศักดิ์ อินทนา วสุภณ ตัณฑวณิชย์ |
format |
Theses and Dissertations |
author |
วสุภณ ตัณฑวณิชย์ |
author_sort |
วสุภณ ตัณฑวณิชย์ |
title |
กรอบแนวคิดสำหรับระบบแนะนำโดยอาศัยบริบทของนักท่องเที่ยวเชิงกีฬา |
title_short |
กรอบแนวคิดสำหรับระบบแนะนำโดยอาศัยบริบทของนักท่องเที่ยวเชิงกีฬา |
title_full |
กรอบแนวคิดสำหรับระบบแนะนำโดยอาศัยบริบทของนักท่องเที่ยวเชิงกีฬา |
title_fullStr |
กรอบแนวคิดสำหรับระบบแนะนำโดยอาศัยบริบทของนักท่องเที่ยวเชิงกีฬา |
title_full_unstemmed |
กรอบแนวคิดสำหรับระบบแนะนำโดยอาศัยบริบทของนักท่องเที่ยวเชิงกีฬา |
title_sort |
กรอบแนวคิดสำหรับระบบแนะนำโดยอาศัยบริบทของนักท่องเที่ยวเชิงกีฬา |
publisher |
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |
publishDate |
2023 |
url |
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19242 |
_version_ |
1787137883352596480 |
spelling |
th-psu.2016-192422023-12-20T07:38:44Z กรอบแนวคิดสำหรับระบบแนะนำโดยอาศัยบริบทของนักท่องเที่ยวเชิงกีฬา A Framework of Context-Aware Recommender System for Sport Tourists วสุภณ ตัณฑวณิชย์ อดิศักดิ์ อินทนา College of Computing (Information Technology) วิทยาลัยการคอมพิวเตอร์ สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ ระบบแนะนำ การรับรู้บริบท การท่องเที่ยวเชิงกีฬา ออนโทโลยี เว็บเชิงความหมาย กฎเชิงความหมาย วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (เทคโนโลยีสารสนเทศ), 2566 Currently, tourists' preferences for travel have become increasingly specific and targeted. For example, sports tourism has gained popularity, and tourists have a desire to explore destinations where they can enjoy while participating in related activities. However, existing recommendation systems are unable to fully accommodate the specific travel preferences of these tourists. Therefore, contextaware technology needs to be utilized in recommendation systems for sports-oriented tourists to enhance their travel experience. Sport tourism is a specialized form of travel where sports enthusiasts travel with the objective of participating in sports-related events. When searching for information on running competitions, competitors prefer to access the internet. However, the information on the internet is scattered, making this to be difficult for them to find the specific information they need. Therefore, the use of semantic web technology is necessary to provide structured and easily searchable information. This research presents the framework of a recommendation system that provides a list of running events aligning with the user's context. To recommend a specific running event, the framework incorporates two types of ontologies, running event and user profile ontologies. The structure and semantic of the developed ontologies have been improved and modified based on expert evaluations, with precision at 0.91 and recall at 0.98. Furthermore, the K-modes clustering technique for data classification and the Apriori algorithm for association rule discovery were used to develop a rule-based recommendation. The Jena Inference Rules were applied to convert the discovered association rules, enabling the recommendation of running events that align with the user's preferences. The research prototype is validated and evaluated with scenario information collected from 5 runners. The actual results of the prototype's recommendations were compared with the expected results designed from runner scenarios. The evaluation result has shown that the developed prototype is able to accurately and precisely recommend interested running events for sport tourists. ในปัจจุบันความต้องการในการท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวเริ่มมีความต้องการที่ เฉพาะเจาะจงมากขึ้น เช่น การท่องเที่ยวเชิงกีฬา นักท่องเที่ยวมีความต้องการที่จะท่องเที่ยวในจุดที่ สามารถเข้าชมสถานที่ท่องเที่ยวต่าง ๆ พร้อมกับเข้าร่วมกิจกรรมกีฬาที่เกี่ยวข้องกับสถานที่นั้น อย่างไรก็ตามระบบแนะนำในปัจจุบันไม่สามารถเติมเต็มความต้องการในการท่องเที่ยวของ นักท่องเที่ยวที่เฉพาะเจาะจงได้ ดังนั้นการรับรู้บริบท (context – aware) จึงต้องถูกนำมาใช้ในระบบ แนะนำสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีความเฉพาะเจาะจงทางด้านกีฬา ประเทศไทยได้มีการจัดการแข่งขันกีฬาวิ่งเป็นจำนวนมาก ทำให้เกิดการเดินทางไป ยังสถานที่ต่าง ๆ ที่มีการจัดการแข่งขันขึ้นเพื่อเข้าร่วมการแข่งขันวิ่งที่สนใจ ในการค้นหาข้อมูลการ แข่งขันวิ่งนั้นผู้คนนิยมค้นหาข้อมูลผ่านทางอินเทอร์เน็ต แต่อย่างไรก็ตามข้อมูลในอินเทอร์เน็ตนั้นมี ความกระจัดกระจายทำให้ผู้ใช้ไม่สามารถหาข้อมูลที่ตรงตามความต้องการของตนเองได้ ด้วยเหตุนี้จึง ต้องนำเทคโนโลยีเว็บเชิงความหมายเข้ามาใช้เพื่อทำให้ข้อมูลมีโครงสร้างและง่ายต่อการค้นหา งานวิจัยนี้ผู้วิจัยได้นำเสนอกรอบแนวคิดของระบบแนะนำที่สามารถแนะนำรายการ แข่งขันวิ่งที่ตรงกับบริบทของนักวิ่งได้ โดยระบบแนะนำของงานวิจัยนี้ประกอบไปด้วยออนโทโลยีการ แข่งขันวิ่งและออนโทโลยีโปรไฟล์ของผู้ใช้ออนโทโลยีได้มีการปรับปรุงและแก้ไขจากการประเมิน โครงสร้างโดยผู้เชี่ยวชาญ และมีผลการประเมินการสืบค้นข้อมูลของออนโทโลยีจากค่าความแม่นยำที่ 0.91 และค่าความระลึกที่ 0.98 นอกจากนี้ เทคนิคการจำแนกข้อมูล K-modes clustering และ ขั้นตอนวิธีการหากฎความสัมพันธ์ Apriori ได้ถูกนำมาใช้ในการพัฒนากฎการแนะนำเชิงความหมาย โดยกฎความสัมพันธ์ที่ได้จะถูกแปลงให้อยู่ในรูปแบบของ Jena Inference Rule เพื่อใช้แนะนำ รายการแข่งขันวิ่งที่ตรงกับความสนใจของนักวิ่ง ต้นแบบที่ถูกพัฒนาขึ้นจากงานวิจัยนี้ได้มีการทดสอบ และประเมินผล โดยใช้ข้อมูลบทภาพเหตุการณ์ของนักวิ่ง 5 คน เปรียบเทียบผลลัพธ์ระหว่างการ แนะนำจากต้นแบบและผลลัพธ์ที่คาดหวังโดยนักวิ่ง จากการประเมินผลต้นแบบสามารถสรุปได้ว่า ต้นแบบสามารถให้คำแนะนำที่ถูกต้องและตรงความคาดหวังให้แก่ผู้ใช้ซึ่งเป็นนักท่องเที่ยวเชิงกีฬาที่มี ความสนใจเข้าร่วมการแข่งขันวิ่งได้ 2023-12-20T07:38:30Z 2023-12-20T07:38:30Z 2023 Thesis http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19242 th Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ application/pdf มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |