การประเมินผลโครงการกิจกรรมนักศึกษาด้านอาสาพัฒนาปีงบประมาณ 2539 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อที่จะศึกษาระดับปัญหาและการบรรลุวัตถุประสงค์ ของการจัดกิจกรรมนักศึกษาด้านอาสาพัฒนา ศึกษาขั้นตอนในการดําเนินงาน ตลอดจนประมวล ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะต่าง ๆ เกี่ยวกับการจัดกิจกรรมนักศึกษาด้านอาสาพัฒนา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย เป็นผู้บริหารที่เกี่ยวข้องกับโครงการ...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: สุกรี เมฆทันต์
Other Authors: Office of President
Format: Technical Report
Language:Thai
Published: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 2024
Subjects:
Online Access:https://link.psu.th/zT2Xp
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19269
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Prince of Songkhla University
Language: Thai
id th-psu.2016-19269
record_format dspace
spelling th-psu.2016-192692024-03-11T06:48:04Z การประเมินผลโครงการกิจกรรมนักศึกษาด้านอาสาพัฒนาปีงบประมาณ 2539 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ รายงานผลการวิจัย การประเมินผลโครงการกิจกรรมนักศึกษาด้านอาสาพัฒนาปีงบประมาณ 2539 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ สุกรี เมฆทันต์ Office of President สำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ นักศึกษา กิจกรรมของนักศึกษา หาดใหญ่ (สงขลา) อาสาพัฒนา ไทย (ภาคใต้) การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อที่จะศึกษาระดับปัญหาและการบรรลุวัตถุประสงค์ ของการจัดกิจกรรมนักศึกษาด้านอาสาพัฒนา ศึกษาขั้นตอนในการดําเนินงาน ตลอดจนประมวล ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะต่าง ๆ เกี่ยวกับการจัดกิจกรรมนักศึกษาด้านอาสาพัฒนา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย เป็นผู้บริหารที่เกี่ยวข้องกับโครงการ อาจารย์ที่ปรึกษา โครงการ นักศึกษาผู้ปฏิบัติโครงการ เจ้าหน้าที่ ผู้นําชุมชน และประชาชนในท้องถิ่นที่ปฏิบัติโครงการ การรวบรวมข้อมูลใช้แบบสอบถามประเมินผลการดําเนินโครงการจากผู้บริหารและ อาจารย์ที่ปรึกษา จํานวน 18 คน นักศึกษาซึ่งเป็นกรรมการโครงการและนักศึกษาผู้ร่วมโครงการ จํานวน 178 คน แบบสัมภาษณ์ความคิดเห็นจากประชาชน เจ้าหน้าที่และผู้นําท้องถิ่น จํานวน 90 คน และแบบสอบถามนักศึกษาผู้รับผิดชอบโครงการเกี่ยวกับขั้นตอนการดําเนินงานทุกโครงการ จํานวน 6 คน ผลการวิจัยพบว่า 1. ผู้บริหาร อาจารย์ที่ปรึกษาและนักศึกษาผู้ปฏิบัติงาน มีความคิดเห็นต่อการบรรลุ วัตถุประสงค์โครงการโดยรวมทุกข้อและทุกโครงการ อยู่ในระดับสูง และเมื่อพิจารณาเป็นรายข้อใน แต่ละโครงการ ปรากฏว่าข้อ 5 และข้อ 6 ของโครงการค่ายน้องใหม่ ชมรมอาสาพัฒนา บรรลุวัตถุ ประสงค์อยู่ในระดับปานกลาง ส่วนข้อที่เหลืออยู่ในระดับสูง 2. ผู้บริหาร อาจารย์ที่ปรึกษาและนักศึกษาผู้ปฏิบัติงาน มีความคิดเห็นต่อปัญหา และอุปสรรคในการดําเนินงานด้านบุคลากร ด้านงบประมาณ ด้านสถานที่และอุปกรณ์ และด้านการ จัดการ โดยรวมทุกด้านอยู่ในระดับปานกลาง และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้านปรากฏว่าด้านสถานที่ และอุปกรณ์ ผู้บริหารและอาจารย์ที่ปรึกษา มีปัญหาอยู่ในระดับต่ํา ส่วนด้านอื่น ๆ ทั้งผู้บริหาร อาจารย์ที่ปรึกษา และนักศึกษาผู้ปฏิบัติงาน มีปัญหาอยู่ในระดับปานกลาง 3. ผู้บริหาร อาจารย์ที่ปรึกษาและนักศึกษาผู้ปฏิบัติงาน มีความคิดเห็นต่อปัญหา และอุปสรรคในการดําเนินงานโครงการค่ายภาคฤดูร้อน ชมรมอาสาพัฒนา อยู่ในระดับต่ํา ส่วน โครงการค่ายมุสลิม โครงการค่ายร่วมวิชาการและอาสาพัฒนาทรัพย์ พยาบาล โครงการค่ายน้องใหม่ ชมรมอาสาพัฒนาและโครงการค่ายวิทยาศาสตร์เพื่อชนบน ครั้งที่ 16 มีปัญหาและอุปสรรคอยู่ ในระดับปานกลาง มีความคิดเห็นต่อ 4. ประชาชนและเจ้าหน้าที่ท้องถิ่นในเขตพื้นที่ปฏิบัติงาน นักศึกษาและผลการปฏิบัติงานโครงการกิจกรรมนักศึกษาด้านอาสาพัฒนาในทางบวกทุกข้อได้แก่ การจัดกิจกรรมสอดคล้องกับความต้องการของชุมชน เป็นการกระตุ้นให้ประชาชนในพื้นที่เห็นความ สําคัญของการพัฒนาท้องถิ่นของตนเองนักศึกษามีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดีกับเจ้าหน้าที่และประชาชน นัก ศึกษาเข้าใจประเพณีวัฒนธรรมในท้องถิ่นเป็นอย่างดีและหากนักศึกษาจะเข้าไปจัดกิจกรรมอีกครั้ง ต้องการให้ช่วยเหลือด้านการศึกษามากที่สุด และรองลงมา ได้แก่ ด้านสาธารณูปโภค ด้านการเกษตร ด้านคมนาคม และด้านสาธารณสุข ตามลําดับ 5. ขั้นตอนการดําเนินโครงการด้านอาสาพัฒนาของนักศึกษามีดังนี้ (1) การได้มาซึ่ง ข้อมูลพื้นที่โครงการขั้นต้น (2) การกําหนดเกณฑ์การพิจารณาคัดเลือกพื้นที่ (3) ดําเนินการสํารวจ พื้นที่ชั้นละเอียด (4) เขียนโครงการเสนอของบสนับสนุนทั้งจากมหาวิทยาลัยและภาคเอกชน (5) ประชาสัมพันธ์โครงการ (6) รับสมัครกรรมการและสมาชิกค่าย (7) แบ่งฝ่ายในการบริหารโครงการ (8) การปฏิบัติงานโครงการ (9) การประเมินผล และ (10) ติดตามผลการปฏิบัติงานโครงการ 6. ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะ (1) งบประมาณไม่เพียงพอซึ่งมหาวิทยาลัยควรจะ จัดสรรงบประมาณสนับสนุนโครงการให้มากกว่าที่เป็นอยู่ปัจจุบัน (2) ผู้บริหารทั้งระดับมหาวิทยาลัย ระดับคณะ และอาจารย์ผู้สอนทั่วไปควรจะให้ความสําคัญต่อการจัดกิจกรรมด้านอาสาพัฒนา (3) อาจารย์ที่ปรึกษาควรอยู่ประจําค่ายตลอดโครงการ (4) รูปแบบกิจกรรมควรให้ความสําคัญทั้ง โครงงาน วิชาการและความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกควบคู่กันไป และ (5) มหาวิทยาลัยควรจะอํานวย ความสะดวกด้านต่าง ๆ เช่น ยานพาหนะ พัสดุอุปกรณ์ ไม่ยิ่งหย่อนไปจากกิจการด้านอื่น ๆ ของ มหาวิทยาลัย 2024-01-05T04:44:17Z 2024-01-05T04:44:17Z 2539 Technical Report https://link.psu.th/zT2Xp http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19269 th มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
institution Prince of Songkhla University
building Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
collection PSU Knowledge Bank
language Thai
topic มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ นักศึกษา
กิจกรรมของนักศึกษา หาดใหญ่ (สงขลา)
อาสาพัฒนา ไทย (ภาคใต้)
spellingShingle มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ นักศึกษา
กิจกรรมของนักศึกษา หาดใหญ่ (สงขลา)
อาสาพัฒนา ไทย (ภาคใต้)
สุกรี เมฆทันต์
การประเมินผลโครงการกิจกรรมนักศึกษาด้านอาสาพัฒนาปีงบประมาณ 2539 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่
description การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อที่จะศึกษาระดับปัญหาและการบรรลุวัตถุประสงค์ ของการจัดกิจกรรมนักศึกษาด้านอาสาพัฒนา ศึกษาขั้นตอนในการดําเนินงาน ตลอดจนประมวล ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะต่าง ๆ เกี่ยวกับการจัดกิจกรรมนักศึกษาด้านอาสาพัฒนา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย เป็นผู้บริหารที่เกี่ยวข้องกับโครงการ อาจารย์ที่ปรึกษา โครงการ นักศึกษาผู้ปฏิบัติโครงการ เจ้าหน้าที่ ผู้นําชุมชน และประชาชนในท้องถิ่นที่ปฏิบัติโครงการ การรวบรวมข้อมูลใช้แบบสอบถามประเมินผลการดําเนินโครงการจากผู้บริหารและ อาจารย์ที่ปรึกษา จํานวน 18 คน นักศึกษาซึ่งเป็นกรรมการโครงการและนักศึกษาผู้ร่วมโครงการ จํานวน 178 คน แบบสัมภาษณ์ความคิดเห็นจากประชาชน เจ้าหน้าที่และผู้นําท้องถิ่น จํานวน 90 คน และแบบสอบถามนักศึกษาผู้รับผิดชอบโครงการเกี่ยวกับขั้นตอนการดําเนินงานทุกโครงการ จํานวน 6 คน ผลการวิจัยพบว่า 1. ผู้บริหาร อาจารย์ที่ปรึกษาและนักศึกษาผู้ปฏิบัติงาน มีความคิดเห็นต่อการบรรลุ วัตถุประสงค์โครงการโดยรวมทุกข้อและทุกโครงการ อยู่ในระดับสูง และเมื่อพิจารณาเป็นรายข้อใน แต่ละโครงการ ปรากฏว่าข้อ 5 และข้อ 6 ของโครงการค่ายน้องใหม่ ชมรมอาสาพัฒนา บรรลุวัตถุ ประสงค์อยู่ในระดับปานกลาง ส่วนข้อที่เหลืออยู่ในระดับสูง 2. ผู้บริหาร อาจารย์ที่ปรึกษาและนักศึกษาผู้ปฏิบัติงาน มีความคิดเห็นต่อปัญหา และอุปสรรคในการดําเนินงานด้านบุคลากร ด้านงบประมาณ ด้านสถานที่และอุปกรณ์ และด้านการ จัดการ โดยรวมทุกด้านอยู่ในระดับปานกลาง และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้านปรากฏว่าด้านสถานที่ และอุปกรณ์ ผู้บริหารและอาจารย์ที่ปรึกษา มีปัญหาอยู่ในระดับต่ํา ส่วนด้านอื่น ๆ ทั้งผู้บริหาร อาจารย์ที่ปรึกษา และนักศึกษาผู้ปฏิบัติงาน มีปัญหาอยู่ในระดับปานกลาง 3. ผู้บริหาร อาจารย์ที่ปรึกษาและนักศึกษาผู้ปฏิบัติงาน มีความคิดเห็นต่อปัญหา และอุปสรรคในการดําเนินงานโครงการค่ายภาคฤดูร้อน ชมรมอาสาพัฒนา อยู่ในระดับต่ํา ส่วน โครงการค่ายมุสลิม โครงการค่ายร่วมวิชาการและอาสาพัฒนาทรัพย์ พยาบาล โครงการค่ายน้องใหม่ ชมรมอาสาพัฒนาและโครงการค่ายวิทยาศาสตร์เพื่อชนบน ครั้งที่ 16 มีปัญหาและอุปสรรคอยู่ ในระดับปานกลาง มีความคิดเห็นต่อ 4. ประชาชนและเจ้าหน้าที่ท้องถิ่นในเขตพื้นที่ปฏิบัติงาน นักศึกษาและผลการปฏิบัติงานโครงการกิจกรรมนักศึกษาด้านอาสาพัฒนาในทางบวกทุกข้อได้แก่ การจัดกิจกรรมสอดคล้องกับความต้องการของชุมชน เป็นการกระตุ้นให้ประชาชนในพื้นที่เห็นความ สําคัญของการพัฒนาท้องถิ่นของตนเองนักศึกษามีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดีกับเจ้าหน้าที่และประชาชน นัก ศึกษาเข้าใจประเพณีวัฒนธรรมในท้องถิ่นเป็นอย่างดีและหากนักศึกษาจะเข้าไปจัดกิจกรรมอีกครั้ง ต้องการให้ช่วยเหลือด้านการศึกษามากที่สุด และรองลงมา ได้แก่ ด้านสาธารณูปโภค ด้านการเกษตร ด้านคมนาคม และด้านสาธารณสุข ตามลําดับ 5. ขั้นตอนการดําเนินโครงการด้านอาสาพัฒนาของนักศึกษามีดังนี้ (1) การได้มาซึ่ง ข้อมูลพื้นที่โครงการขั้นต้น (2) การกําหนดเกณฑ์การพิจารณาคัดเลือกพื้นที่ (3) ดําเนินการสํารวจ พื้นที่ชั้นละเอียด (4) เขียนโครงการเสนอของบสนับสนุนทั้งจากมหาวิทยาลัยและภาคเอกชน (5) ประชาสัมพันธ์โครงการ (6) รับสมัครกรรมการและสมาชิกค่าย (7) แบ่งฝ่ายในการบริหารโครงการ (8) การปฏิบัติงานโครงการ (9) การประเมินผล และ (10) ติดตามผลการปฏิบัติงานโครงการ 6. ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะ (1) งบประมาณไม่เพียงพอซึ่งมหาวิทยาลัยควรจะ จัดสรรงบประมาณสนับสนุนโครงการให้มากกว่าที่เป็นอยู่ปัจจุบัน (2) ผู้บริหารทั้งระดับมหาวิทยาลัย ระดับคณะ และอาจารย์ผู้สอนทั่วไปควรจะให้ความสําคัญต่อการจัดกิจกรรมด้านอาสาพัฒนา (3) อาจารย์ที่ปรึกษาควรอยู่ประจําค่ายตลอดโครงการ (4) รูปแบบกิจกรรมควรให้ความสําคัญทั้ง โครงงาน วิชาการและความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกควบคู่กันไป และ (5) มหาวิทยาลัยควรจะอํานวย ความสะดวกด้านต่าง ๆ เช่น ยานพาหนะ พัสดุอุปกรณ์ ไม่ยิ่งหย่อนไปจากกิจการด้านอื่น ๆ ของ มหาวิทยาลัย
author2 Office of President
author_facet Office of President
สุกรี เมฆทันต์
format Technical Report
author สุกรี เมฆทันต์
author_sort สุกรี เมฆทันต์
title การประเมินผลโครงการกิจกรรมนักศึกษาด้านอาสาพัฒนาปีงบประมาณ 2539 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่
title_short การประเมินผลโครงการกิจกรรมนักศึกษาด้านอาสาพัฒนาปีงบประมาณ 2539 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่
title_full การประเมินผลโครงการกิจกรรมนักศึกษาด้านอาสาพัฒนาปีงบประมาณ 2539 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่
title_fullStr การประเมินผลโครงการกิจกรรมนักศึกษาด้านอาสาพัฒนาปีงบประมาณ 2539 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่
title_full_unstemmed การประเมินผลโครงการกิจกรรมนักศึกษาด้านอาสาพัฒนาปีงบประมาณ 2539 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่
title_sort การประเมินผลโครงการกิจกรรมนักศึกษาด้านอาสาพัฒนาปีงบประมาณ 2539 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่
publisher มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
publishDate 2024
url https://link.psu.th/zT2Xp
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19269
_version_ 1794552219272478720