ผลของโปรแกรมการสร้างความมั่นคงภายในจิตใจต่อความวิตกกังวลในผู้สูงอายุโรควิตกกังวลทั่วไป
พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (การพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช), 2566
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
2024
|
Subjects: | |
Online Access: | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19310 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Prince of Songkhla University |
Language: | Thai |
id |
th-psu.2016-19310 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Prince of Songkhla University |
building |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
collection |
PSU Knowledge Bank |
language |
Thai |
topic |
ผู้สูงอายุโรควิตกกังวลทั่วไป |
spellingShingle |
ผู้สูงอายุโรควิตกกังวลทั่วไป กาญจนา ศุภศรี ผลของโปรแกรมการสร้างความมั่นคงภายในจิตใจต่อความวิตกกังวลในผู้สูงอายุโรควิตกกังวลทั่วไป |
description |
พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (การพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช), 2566 |
author2 |
วินีกาญจน์ คงสุวรรณ |
author_facet |
วินีกาญจน์ คงสุวรรณ กาญจนา ศุภศรี |
format |
Theses and Dissertations |
author |
กาญจนา ศุภศรี |
author_sort |
กาญจนา ศุภศรี |
title |
ผลของโปรแกรมการสร้างความมั่นคงภายในจิตใจต่อความวิตกกังวลในผู้สูงอายุโรควิตกกังวลทั่วไป |
title_short |
ผลของโปรแกรมการสร้างความมั่นคงภายในจิตใจต่อความวิตกกังวลในผู้สูงอายุโรควิตกกังวลทั่วไป |
title_full |
ผลของโปรแกรมการสร้างความมั่นคงภายในจิตใจต่อความวิตกกังวลในผู้สูงอายุโรควิตกกังวลทั่วไป |
title_fullStr |
ผลของโปรแกรมการสร้างความมั่นคงภายในจิตใจต่อความวิตกกังวลในผู้สูงอายุโรควิตกกังวลทั่วไป |
title_full_unstemmed |
ผลของโปรแกรมการสร้างความมั่นคงภายในจิตใจต่อความวิตกกังวลในผู้สูงอายุโรควิตกกังวลทั่วไป |
title_sort |
ผลของโปรแกรมการสร้างความมั่นคงภายในจิตใจต่อความวิตกกังวลในผู้สูงอายุโรควิตกกังวลทั่วไป |
publisher |
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |
publishDate |
2024 |
url |
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19310 |
_version_ |
1789484306675007488 |
spelling |
th-psu.2016-193102024-01-23T09:10:26Z ผลของโปรแกรมการสร้างความมั่นคงภายในจิตใจต่อความวิตกกังวลในผู้สูงอายุโรควิตกกังวลทั่วไป The Effect of a Stabilization-based Program on Anxiety among Elderly Patients with Generalized Anxiety Disorder กาญจนา ศุภศรี วินีกาญจน์ คงสุวรรณ Faculty of Nursing (Psychiatric Nursing) คณะพยาบาลศาสตร์ ภาควิชาการพยาบาลจิตเวช ผู้สูงอายุโรควิตกกังวลทั่วไป พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (การพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช), 2566 The quasi-experimental research aimed to examine the effect of a Stabilization-based Program on Anxiety among elderly patients with generalized anxiety disorder. Participants comprised 60 elderly patients with generalized anxiety disorder, aged 60-79 years, and undergoing treatment as outpatient in Suansaranrom Hospital. The participants, were assigned into 2 groups, 30 to the experimental group to receive the stabilization-based program and 30 to the control group to receive usual care. Research instruments consisted of a demographic data form, an anxiety inventory, a state-trait Anxiety Inventory form Y (STAI from Y), and the ruminative response scale (RRS), and the Stabilization-based Program. The program included 3 sessions, each of 90 minutes, once a week continually. Content validity of instruments was verified by three experts. Cronbach's alpha coefficient was used for reliability testing of the anxiety Inventory, the STAI from Y and RRS yielding a value of .82, .83 and .83, respectively. Data were analyzed using frequency, percentage, mean, standard deviation, and chi square. To comparison between before and after mean score of the experiment group was analyzed using Paired-t test. The mean difference between control group and experimental group was analyzed using Independent-t test. The result revealed that the mean score of state-anxiety after participating in the stabilization-based program was significantly lower then before participating in the program (t=9.19, p<.01), and the mean score of state-anxiety after participating in the stabilization-based program was significantly lower then before participating in the program (t=9.39,p<.01). In addition, the mean score of state-anxiety after participating in the stabilization-based program as the experimental group was significantly lower then that of participants in the control group (t=-5.71, p<.01) and the mean score of trait-anxiety after participating in the stabilization-based program as the experimental group was significantly lower then that of participants receiving usual care as the control group (t=-10.88, p<.01) In conclusion, the stabilization-based program could reduce anxiety in elderly patients with generalized anxiety disorder. Therefore, psychiatric nurse could implement the program to reduce anxiety in the elderly and to prevent mental health crises. ทุนสนับสนุนบัณฑิตศึกษา ศูนย์ความเป็นเลิศด้านผู้สูงวัย คณะพยาบาลศาสตร์ ปีการศึกษา 2564 การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการสร้างความมั่นคงภายในจิตใจต่อความวิตกกังวลในผู้สูงอายุโรควิตกกังวลทั่วไป โดยศึกษาในกลุ่มตัวอย่างที่มีอายุ 60-79 ปี เป็นผู้สูงอายุโรควิตกกังวลทั่วไป ที่เข้ารับการรักษา ณ แผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาล สวนสราญรมย์ จำนวน 60 คน กลุ่มตัวอย่างผ่านการคัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจงจากคุณสมบัติที่ผู้วิจัยกำหนด ซึ่งแบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 30 คน และกลุ่มควบคุม 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป แบบประเมินความวิตกกังวลขณะปัจจุบัน แบบประเมินความวิตกกังวลประจำตัว แบบประเมินการหมกมุ่นครุ่นคิด และโปรแกรมการสร้างความมั่นคงภายในจิตใจ ดำเนินกิจกรรมทั้งหมด 3 ครั้ง สัปดาห์ละ 1 ครั้งติดต่อกัน ใช้ระยะเวลา 90 นาที เครื่องมือวิจัยผ่านการตรวจสอบโดยผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 3 ท่าน ทดสอบความเที่ยงของเครื่องมือ แบบประเมินความวิตกกังวลขณะปัจจุบัน แบบประเมินความวิตกกังวลประจำตัว และแบบประเมินการหมกมุ่นครุ่นคิด ด้วยการหาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค (Cronbach’s Alpha Coefficient) เท่ากับ .82, .83 และ .83 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบความแตกต่างระหว่างกลุ่ม โดยใช้ไคสแควร์ (Chi-square) รวมถึงเปรียบเทียบผลการศึกษาทั้งกลุ่มทดลองแบบก่อนและหลังการทดลอง โดยใช้สถิติทีคู่ (Paired- t test) เปรียบเทียบหลังการทดลองระหว่างกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลอง โดยใช้สถิติทีอิสระ (Independent-t test) ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มทดลองหลังได้รับโปรแกรมการสร้างความมั่นคงภายในจิตใจ มีค่าคะแนนเฉลี่ยความวิตกกังวลขณะปัจจุบันต่ำกว่าก่อนได้รับโปรแกรมการสร้างความมั่นคงภายในจิตใจ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (t=9.19, P<.001) และกลุ่มทดลองหลังได้รับโปรแกรมการสร้างความมั่นคงภายในจิตใจ มีค่าคะแนนเฉลี่ยความวิตกกังวลประจำตัวต่ำกว่าก่อนได้รับโปรแกรมการสร้างความมั่นคงภายในจิตใจ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (t=9.39, P<.001) และหลังได้รับโปรแกรมการสร้างความมั่นคงภายในจิตใจ กลุ่มทดลองมีค่าคะแนนเฉลี่ยความวิตกกังวลขณะปัจจุบันต่ำกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (t=-5.71, P<.01) และหลังได้รับโปรแกรมการสร้างความมั่นคงภายในจิตใจ กลุ่มทดลองมีค่าคะแนนเฉลี่ยความวิตกกังวลประจำตัวต่ำกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (t=-10.88, P<.01) จากผลการวิจัย แสดงถึงโปรแกรมการสร้างความมั่นคงภายในจิตใจ สามารถลดความวิตกกังวลในผู้สูงอายุโรควิตกกังวลทั่วไปได้อย่างเหมาะสม ดังนั้นพยาบาลจิตเวชสามารถนำโปรแกรมไปประยุกต์ใช้ เพื่อลดความวิตกกังวลในผู้สูงอายุและเพื่อป้องกันการเกิดภาวะวิกฤตทางจิตใจได้ 2024-01-23T09:10:26Z 2024-01-23T09:10:26Z 2023 Thesis http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19310 th Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ application/pdf มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |