การนำดินฟอกสีที่ใช้แล้วกลับมาใช้ประโยชน์ กรณีศึกษา: การปรับสภาพเพื่อกลับไปใช้ใหม่ในอุตสาหกรรมกลั่นน้ำมันปาล์ม และการผลิตเชื้อเพลิงเม็ดร่วมกับทางปาล์มน้ำมันที่ผ่านการทอร์รีแฟคชัน

วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (เทคโนโลยีพลังงาน), 2566

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: เพ็ญศิริ ร่มเย็น
Other Authors: สายสุนีย์ จำรัส
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 2024
Subjects:
Online Access:http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19328
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Prince of Songkhla University
Language: Thai
id th-psu.2016-19328
record_format dspace
institution Prince of Songkhla University
building Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
collection PSU Knowledge Bank
language Thai
topic ดินฟอกสีใช้แล้ว
ทางปาล์มน้ำมัน
การปรับสภาพ
เชื้อเพลิงเม็ด
การทอร์รีแฟคชัน
spellingShingle ดินฟอกสีใช้แล้ว
ทางปาล์มน้ำมัน
การปรับสภาพ
เชื้อเพลิงเม็ด
การทอร์รีแฟคชัน
เพ็ญศิริ ร่มเย็น
การนำดินฟอกสีที่ใช้แล้วกลับมาใช้ประโยชน์ กรณีศึกษา: การปรับสภาพเพื่อกลับไปใช้ใหม่ในอุตสาหกรรมกลั่นน้ำมันปาล์ม และการผลิตเชื้อเพลิงเม็ดร่วมกับทางปาล์มน้ำมันที่ผ่านการทอร์รีแฟคชัน
description วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (เทคโนโลยีพลังงาน), 2566
author2 สายสุนีย์ จำรัส
author_facet สายสุนีย์ จำรัส
เพ็ญศิริ ร่มเย็น
format Theses and Dissertations
author เพ็ญศิริ ร่มเย็น
author_sort เพ็ญศิริ ร่มเย็น
title การนำดินฟอกสีที่ใช้แล้วกลับมาใช้ประโยชน์ กรณีศึกษา: การปรับสภาพเพื่อกลับไปใช้ใหม่ในอุตสาหกรรมกลั่นน้ำมันปาล์ม และการผลิตเชื้อเพลิงเม็ดร่วมกับทางปาล์มน้ำมันที่ผ่านการทอร์รีแฟคชัน
title_short การนำดินฟอกสีที่ใช้แล้วกลับมาใช้ประโยชน์ กรณีศึกษา: การปรับสภาพเพื่อกลับไปใช้ใหม่ในอุตสาหกรรมกลั่นน้ำมันปาล์ม และการผลิตเชื้อเพลิงเม็ดร่วมกับทางปาล์มน้ำมันที่ผ่านการทอร์รีแฟคชัน
title_full การนำดินฟอกสีที่ใช้แล้วกลับมาใช้ประโยชน์ กรณีศึกษา: การปรับสภาพเพื่อกลับไปใช้ใหม่ในอุตสาหกรรมกลั่นน้ำมันปาล์ม และการผลิตเชื้อเพลิงเม็ดร่วมกับทางปาล์มน้ำมันที่ผ่านการทอร์รีแฟคชัน
title_fullStr การนำดินฟอกสีที่ใช้แล้วกลับมาใช้ประโยชน์ กรณีศึกษา: การปรับสภาพเพื่อกลับไปใช้ใหม่ในอุตสาหกรรมกลั่นน้ำมันปาล์ม และการผลิตเชื้อเพลิงเม็ดร่วมกับทางปาล์มน้ำมันที่ผ่านการทอร์รีแฟคชัน
title_full_unstemmed การนำดินฟอกสีที่ใช้แล้วกลับมาใช้ประโยชน์ กรณีศึกษา: การปรับสภาพเพื่อกลับไปใช้ใหม่ในอุตสาหกรรมกลั่นน้ำมันปาล์ม และการผลิตเชื้อเพลิงเม็ดร่วมกับทางปาล์มน้ำมันที่ผ่านการทอร์รีแฟคชัน
title_sort การนำดินฟอกสีที่ใช้แล้วกลับมาใช้ประโยชน์ กรณีศึกษา: การปรับสภาพเพื่อกลับไปใช้ใหม่ในอุตสาหกรรมกลั่นน้ำมันปาล์ม และการผลิตเชื้อเพลิงเม็ดร่วมกับทางปาล์มน้ำมันที่ผ่านการทอร์รีแฟคชัน
publisher มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
publishDate 2024
url http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19328
_version_ 1789484310181445632
spelling th-psu.2016-193282024-01-25T04:46:02Z การนำดินฟอกสีที่ใช้แล้วกลับมาใช้ประโยชน์ กรณีศึกษา: การปรับสภาพเพื่อกลับไปใช้ใหม่ในอุตสาหกรรมกลั่นน้ำมันปาล์ม และการผลิตเชื้อเพลิงเม็ดร่วมกับทางปาล์มน้ำมันที่ผ่านการทอร์รีแฟคชัน Utilization of Used Bleaching Clay: Reactivation for Reprocessing in Palm Oil Refining Industry and Pellet Fuel Production with Torrefied Oil Palm Fronds เพ็ญศิริ ร่มเย็น สายสุนีย์ จำรัส คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิชาเทคโนโลยีพลังงาน Faculty of Engineering (Energy Technology) ดินฟอกสีใช้แล้ว ทางปาล์มน้ำมัน การปรับสภาพ เชื้อเพลิงเม็ด การทอร์รีแฟคชัน วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (เทคโนโลยีพลังงาน), 2566 The purpose of this work is to reuse bleached clay. It is used to produce pellet fuel with oil palm fronds and reactivation (microwave pyrolysis and acid activation) to be re-bleaching in the crude palm oil refining industry. In the production of pellet fuel, a torrefaction process is used to increase the fuel properties of oil palm fronds by using a microwave torrefactor result, torrefaction at 300oC for 20 minutes is the most suitable torrefaction condition due to its highest reliability and increased carbon stability. net calorific value and fixed carbon were 23.01 MJ/Kg and 46.06% respectively when used to produce pellet fuel together with used bleaching clay, it was found that the greater the amount of palm passage, the higher the calorific value of the pellet fuel both non- torrefied pellet fuel and torrefied pellet fuel have calorific values of 12.24 MJ/Kg and 18.40 MJ/Kg. respectively The calorific value of torrefied pellet fuel between oil palm fronds torrefied and used bleaching soil in the ratio of 70:30 is the highest and meets the benchmark ISO/TS 1 7 2 2 5 - 8 :2 0 1 6 Solid biofuels — Fuel specifications and classes (Part 8: Graded thermally treated and densified biomass fuels). In terms of reactivation, used bleaching clay. When analyzing the surface area and pore volume of pyrolysis used bleaching clay and pyrolysis used bleaching clay followed by acid activation. It becomes clear that pyrolysis used bleaching clay followed by acid activation has increased surface area and pore volume from pyrolysis used bleaching clay. But in comparison with pure bleaching clay. It was found that the surface area and pore volume of reactived bleaching clay were found to be both pyrolysis treated used bleaching clay and pyrolysis used bleaching clay followed by acid activation. It is less valuable than pure bleached clay. This is consistent with the effect of crude palm oil bleaching color values that showed lower pigmentation values of oil bleached with pure bleaching clay. The color value of the oil bleached with reactived bleached clay, both pyrolysis and pyrolysis followed by acid activation. ในงานวิจัยนี้จึงมีจุดประสงค์เพื่อนำดินฟอกสีกลับมาใช้ประโยชน์ โดยการนำมาผลิตเชื้อเพลิงอัดเม็ดร่วมกับทางปาล์มทอร์รีไฟด์ และทำการปรับสภาพด้วยกระบวนการทางความร้อนและทางเคมี (ไมโครเวฟไพโรไลซิสและกระตุ้นด้วยกรด) เพื่อนำกลับมาใช้ซ้ำในกระบวนการฟอกสีน้ำมันปาล์มดิบ ซึ่งการผลิตเชื้อเพลิงอัดเม็ดมีการใช้กระบวนการทอร์รีแฟคชันด้วยระบบไมโครเวฟทอร์รีแฟคชัน เพื่อเพิ่มสมบัติด้านเชื้อเพลิงของทางปาล์มน้ำมัน จากผลการศึกษา พบว่า การทอร์รีแฟคชันที่อุณหภูมิ 300oC เป็นเวลา 40 นาที เป็นสภาวะที่ทำให้ทางปาล์มที่ผ่านการ ทอร์รีไฟด์มีค่าความร้อนและปริมาณคาร์บอนคงตัวสูงที่สุด เท่ากับ 23.01 MJ/Kg และ 46.06% ตามลำดับ เมื่อนำทางปาล์มที่ผ่านการทอร์รีไฟด์มาผลิตเชื้อเพลิงอัดเม็ดร่วมกับดินฟอกสีใช้แล้ว พบว่า เมื่อปริมาณทางปาล์มมากขึ้นทำให้ค่าความร้อนของเชื้อเพลิงอัดเม็ดเพิ่มขึ้น โดยเชื้อเพลิงไม่ทอร์รีไฟด์อัดเม็ดและเชื้อเพลิงทอร์รีไฟด์อัดเม็ดมีค่าความร้อน เท่ากับ 12.24 MJ/Kg และ 18.40 MJ/Kg ตามลำดับ โดยเชื้อเพลิงทอร์รีไฟด์อัดเม็ดที่มีส่วนผสมของทางปาล์มทอร์รีไฟด์กับดินฟอกสีใช้แล้วในอัตราส่วน 70:30 มีค่าความร้อนสูงที่สุดและผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ISO/TS 1 7 2 2 5 - 8 :2 0 1 6 Solid biofuels - Fuel specifications and classes (Part 8 : Graded thermally treated and densified biomass fuels) และสำหรับการนำดินฟอกสีที่ผ่านการปรับสภาพมาฟอกสีน้ำมันปาล์มดิบ พบว่า ดินฟอกสีใช้แล้วที่ผ่านการไพโรไลซิสตามด้วยการแช่กรด เห็นได้ชัดว่ามีค่าพื้นที่ผิวและปริมาตรรูพรุนสูงกว่าดินฟอกสีใช้แล้วที่ผ่านการไพโรไลซิสเพียงอย่างเดียว แต่มีค่าน้อยกว่าดินฟอกสีบริสุทธิ์ ซึ่งสอดคล้องกับผลของค่าสีจากการฟอกสีน้ำมันปาล์มดิบที่ พบว่า ค่าสีของน้ำมันที่ฟอกสีด้วยดินฟอกสีบริสุทธิ์มีค่าต่ำกว่าค่าสีของน้ำมันที่ฟอกสีด้วยดินฟอกสีที่ผ่านการปรับสภาพทั้งแบบที่ผ่านการไพโรไลซิสและผ่านการไพโรไลซิสตามด้วยการแช่กรด 2024-01-25T04:46:02Z 2024-01-25T04:46:02Z 2023 Thesis http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19328 th Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ application/pdf มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์