การพัฒนาสิ่งแวดล้อมใหม่ทางการเรียนรู้บนคลาวด์คอมพิวติงตามแนวทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน รายวิชาวิทยาการคำนวณ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4

ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา), 2566

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: พิชญานันท์ อินทร์รักษ์
Other Authors: วิชัย นภาพงศ์
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 2024
Subjects:
Online Access:http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19330
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Prince of Songkhla University
Language: Thai
id th-psu.2016-19330
record_format dspace
institution Prince of Songkhla University
building Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
collection PSU Knowledge Bank
language Thai
topic สิ่งแวดล้อมใหม่ทางการเรียนรู้
คอนสตรัคติวิสต์
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
วิทยาการคำนวณ
spellingShingle สิ่งแวดล้อมใหม่ทางการเรียนรู้
คอนสตรัคติวิสต์
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
วิทยาการคำนวณ
พิชญานันท์ อินทร์รักษ์
การพัฒนาสิ่งแวดล้อมใหม่ทางการเรียนรู้บนคลาวด์คอมพิวติงตามแนวทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน รายวิชาวิทยาการคำนวณ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
description ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา), 2566
author2 วิชัย นภาพงศ์
author_facet วิชัย นภาพงศ์
พิชญานันท์ อินทร์รักษ์
format Theses and Dissertations
author พิชญานันท์ อินทร์รักษ์
author_sort พิชญานันท์ อินทร์รักษ์
title การพัฒนาสิ่งแวดล้อมใหม่ทางการเรียนรู้บนคลาวด์คอมพิวติงตามแนวทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน รายวิชาวิทยาการคำนวณ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
title_short การพัฒนาสิ่งแวดล้อมใหม่ทางการเรียนรู้บนคลาวด์คอมพิวติงตามแนวทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน รายวิชาวิทยาการคำนวณ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
title_full การพัฒนาสิ่งแวดล้อมใหม่ทางการเรียนรู้บนคลาวด์คอมพิวติงตามแนวทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน รายวิชาวิทยาการคำนวณ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
title_fullStr การพัฒนาสิ่งแวดล้อมใหม่ทางการเรียนรู้บนคลาวด์คอมพิวติงตามแนวทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน รายวิชาวิทยาการคำนวณ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
title_full_unstemmed การพัฒนาสิ่งแวดล้อมใหม่ทางการเรียนรู้บนคลาวด์คอมพิวติงตามแนวทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน รายวิชาวิทยาการคำนวณ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
title_sort การพัฒนาสิ่งแวดล้อมใหม่ทางการเรียนรู้บนคลาวด์คอมพิวติงตามแนวทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน รายวิชาวิทยาการคำนวณ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
publisher มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
publishDate 2024
url http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19330
_version_ 1789484310608216064
spelling th-psu.2016-193302024-01-25T06:46:54Z การพัฒนาสิ่งแวดล้อมใหม่ทางการเรียนรู้บนคลาวด์คอมพิวติงตามแนวทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน รายวิชาวิทยาการคำนวณ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 The Development of New Learning Environment of Computing Science on Constructivist Theory to Development the Academic Achievement of Learners for Grade 4 Students พิชญานันท์ อินทร์รักษ์ วิชัย นภาพงศ์ Faculty of Education (Educational Technology) คณะศึกษาศาสตร์ ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา สิ่งแวดล้อมใหม่ทางการเรียนรู้ คอนสตรัคติวิสต์ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิทยาการคำนวณ ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา), 2566 The purpose of this research was: 1) to development of new learning environment of computing science on constructivist theory for grade 4 students 2) to compare learning achievement of students in grade 4 students before and after by using a new learning environment of computing science on constructivist theory and 3) to study the satisfaction towards a new learning environment of computing science on constructivist theory for grade 4 Students. It's experimental research using a one-group method before and after one group pretest- posttest design. The population was grade 4 students in the second semester of the academic year 2021 at Ban Hua Klong school under the Office of Narathiwat Primary Educational Service Area 2, the purposive sampling was selected by purposive sampling. A sample of 34 students was obtained. Data were collected with the research tools used in the experiment, namely online lessons. and the tools used to collect data were 1) a learning management plan, 2) a pre-learning and post-learning achievement test, and 3) Student Satisfaction Questionnaire The research found that: 1. The results of the development of a new learning environment of computing science on constructivist theory for grade 4 students as follows: 1.1 The results of evaluation for the learning management plan was at a high level in overall. ( = 4.38, S.D. = 0.64) 1.2 The new learning environment of computing science on constructivist theory had the efficiency criteria (E1/E2) at 82.41/85.16 which was higher than criterion at 80/80 2. The learning achievement of students before and after studying with a new learning environment of computing science on constructivist theory for grade 4 students, it was found that the students' achievement scores after learning were higher than before. Statistically significant at the .01 level. 3. Satisfaction with a new Learning Environment of Computing science on Constructivist Theory for Grade 4 Students was at a high level in overall. ( = 4.40, S.D. = 0.11) การวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) การพัฒนาสิ่งแวดล้อมใหม่ทางการเรียนรู้บนคลาวด์คอมพิวติง ตามแนวทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน รายวิชาวิทยาการคำนวณ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนก่อนและหลังเรียนด้วยสิ่งแวดล้อมใหม่ทางการเรียนรู้บนคลาวด์คอมพิวติง ตามแนวทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน รายวิชาวิทยาการคำนวณ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 และ 3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจที่มีต่อสิ่งแวดล้อมใหม่ทางการเรียนรู้บนคลาวด์คอมพิวติงตามแนวทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน รายวิชาวิทยาการคำนวณ ชั้นประถมศึกษา ปีที่ 4 เป็นการวิจัยเชิงทดลอง (Experimental Research) โดยใช้วิธีแบบกลุ่มเดี่ยวก่อนและหลัง One Group Pretest- Posttest Design ประชากรที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 โรงเรียนบ้านหัวคลอง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถม ศึกษานราธิวาส เขต 2 คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive sampling) ผู้วิจัยเลือกนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4/1 เนื่องจากเป็นห้องเรียนคุณภาพ ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 34 คน เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยเครื่องมือวิจัยที่ใช้ในการทดลอง คือ บทเรียนออนไลน์ และเครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล คือ 1) แผนการจัดการเรียนรู้ 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ก่อนเรียนและหลังเรียน และ 3) แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบสมมติฐานด้วย t-test (Dependent Sample) ผลการวิจัย พบว่า 1. ผลการพัฒนาสิ่งแวดล้อมใหม่ทางการเรียนรู้บนคลาวด์คอมพิวติง ตามแนวทฤษฎี คอนสตรัคติวิสต์ เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน รายวิชาวิทยาการคำนวณ ชั้นประถม ศึกษาปีที่ 4 ดังนี้ 1.1 ผลการพัฒนาสิ่งแวดล้อมใหม่ทางการเรียนรู้บนคลาวด์คอมพิวติง ตามแนวทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน รายวิชาวิทยาการคำนวณ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ในภาพรวมผลการประเมินแผนการจัดการเรียนรู้อยู่ในระดับมาก ( = 4.38, S.D. = 0.64) 1.2 ประสิทธิภาพของสิ่งแวดล้อมใหม่ทางการเรียนรู้บนคลาวด์คอมพิวติง ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์วิชา เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน รายวิชาวิทยาการคำนวณ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 มีค่าประสิทธิภาพเท่ากับ 82.41/85.16 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ที่ตั้งไว้ 80/80 2. นักเรียนที่เรียนด้วยสิ่งแวดล้อมใหม่ทางการเรียนรู้บนคลาวด์คอมพิวติง ตามแนวทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน รายวิชาวิทยาการคำนวณ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 จะมีผลสัมฤทธิ์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 3. นักเรียนที่เรียนด้วยสิ่งแวดล้อมใหม่ทางการเรียนรู้บนคลาวด์คอมพิวติง ตามแนวทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน รายวิชาวิทยาการคำนวณ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 จะมีความพึงพอใจโดยรวมอยู่ในระดับมาก ( = 4.40, S.D. = 0.11) 2024-01-25T06:46:34Z 2024-01-25T06:46:34Z 2023 Thesis http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19330 th Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ application/pdf มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์