ผลของการดูแลผู้ป่วยโดยมีเภสัชกรเป็นผู้จัดการรายกรณี ต่อการชะลอการเสื่อมของไตในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง

เภสัชศาสตรมหาบัณฑิต (เภสัชศาสตร์สังคมและการบริหาร), 2566

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: นพดล พลานุกูลวงศ์
Other Authors: ธนเทพ วณิชยากร
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 2024
Subjects:
Online Access:http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19336
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Prince of Songkhla University
Language: Thai
id th-psu.2016-19336
record_format dspace
institution Prince of Songkhla University
building Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
collection PSU Knowledge Bank
language Thai
topic โรคไตเรื้อรัง
เภสัชกร
ผู้จัดการรายกรณี
spellingShingle โรคไตเรื้อรัง
เภสัชกร
ผู้จัดการรายกรณี
นพดล พลานุกูลวงศ์
ผลของการดูแลผู้ป่วยโดยมีเภสัชกรเป็นผู้จัดการรายกรณี ต่อการชะลอการเสื่อมของไตในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
description เภสัชศาสตรมหาบัณฑิต (เภสัชศาสตร์สังคมและการบริหาร), 2566
author2 ธนเทพ วณิชยากร
author_facet ธนเทพ วณิชยากร
นพดล พลานุกูลวงศ์
format Theses and Dissertations
author นพดล พลานุกูลวงศ์
author_sort นพดล พลานุกูลวงศ์
title ผลของการดูแลผู้ป่วยโดยมีเภสัชกรเป็นผู้จัดการรายกรณี ต่อการชะลอการเสื่อมของไตในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
title_short ผลของการดูแลผู้ป่วยโดยมีเภสัชกรเป็นผู้จัดการรายกรณี ต่อการชะลอการเสื่อมของไตในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
title_full ผลของการดูแลผู้ป่วยโดยมีเภสัชกรเป็นผู้จัดการรายกรณี ต่อการชะลอการเสื่อมของไตในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
title_fullStr ผลของการดูแลผู้ป่วยโดยมีเภสัชกรเป็นผู้จัดการรายกรณี ต่อการชะลอการเสื่อมของไตในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
title_full_unstemmed ผลของการดูแลผู้ป่วยโดยมีเภสัชกรเป็นผู้จัดการรายกรณี ต่อการชะลอการเสื่อมของไตในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
title_sort ผลของการดูแลผู้ป่วยโดยมีเภสัชกรเป็นผู้จัดการรายกรณี ต่อการชะลอการเสื่อมของไตในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
publisher มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
publishDate 2024
url http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19336
_version_ 1789484311763746816
spelling th-psu.2016-193362024-01-25T07:14:18Z ผลของการดูแลผู้ป่วยโดยมีเภสัชกรเป็นผู้จัดการรายกรณี ต่อการชะลอการเสื่อมของไตในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง Effects of Patient Care by Pharmacist as Case Manager on Delaying Renal Impairment among Patients with Chronic Kidney Disease นพดล พลานุกูลวงศ์ ธนเทพ วณิชยากร Faculty of Pharmaceutical Sciences (Pharmacy Administration) คณะเภสัชศาสตร์ ภาควิชาบริหารเภสัชกิจ โรคไตเรื้อรัง เภสัชกร ผู้จัดการรายกรณี เภสัชศาสตรมหาบัณฑิต (เภสัชศาสตร์สังคมและการบริหาร), 2566 The main objective of this study was to examine the effect of pharmaceutical care program on both clinical and process outcomes in patients with stage 3 or 4 chronic kidney disease. The study was conducted between November 2021 to July 2022. Total 124 patients were enrolled and separated to intervention group (Structure Care, N = 62) and control group (Usual Care, N = 62). The intervention program (case management) consisted of finding drug-related problems, adjusting dosage, conducting patient education, and referring system for multidisciplinary teams. The outcomes were measured as clinical outcomes (blood pressure and renal function test) and process outcomes (identifying and resolving drug-related problems, knowledge score and quality of life). Paired t test, Independent t test and Repeated measure ANOVA was used to compare before/after intervention of each group and compare between group, respectively. Wilcoxon Signed Ranks test and Mann Whitney U test was used in non-normal distribution data. The study was showed that the average age of patients was 67 years old and 62% were males. Most patients had stage 3a or 3b renal failure. For clinical outcomes, the renal function (eGFR) had been significantly improved in intervention group compared to control group (Control Group: 39.77±12.66, Study Group: 45.88±11.98; p <0.05). There was no difference in SCr between group. However, SCr in intervention group was decreased while significantly increased in control group in the end of intervention (Control Group: 1.67±0.51, Study Group: 1.50±0.45; p<0.05), reflecting lower renal function. Additionally in process outcomes (quality of life, medication and disease knowledge and compliance) were significantly improved in intervention group (EQ-5D-5L: 0.817±0.061, EQ-VAS: 78.47±6.25, knowledge: 7.60 ±1.00, compliance: 66.13; p<0.001) and higher rate in detecting and solving medication problems compared to control group. This study suggested that pharmaceutical care program by using case management is an effective process to slow the deterioration rate of kidney function in patient with chronic kidney disease and improves patient’s knowledge on kidney disease and decreased drug-related problems, which is likely to slow the deterioration of the kidneys and improved clinical outcomes. การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงทดลองแบบสุ่มและมีกลุ่มควบคุม มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบผลของการให้การบริบาลทางเภสัชกรรมต่อผลลัพธ์ทางคลินิกและผลลัพธ์ด้านการดูแลผู้ป่วยในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะที่ 3 หรือ 4 เริ่มเก็บข้อมูลในเดือน พฤศจิกายน 2564 – กรกฎาคม 2565 จำนวนผู้ป่วย 124 ราย แบ่งเป็นกลุ่มที่ได้รับการบริบาลทางเภสัชกรรม; กลุ่มทดลอง (Structure Care) 62 ราย และกลุ่มที่ได้รับตามมาตรฐาน; กลุ่มควบคุม (Usual Care) 62 ราย โดยโปรแกรมการให้การบริบาลทางเภสัชกรรมโดยใช้รูปแบบการจัดการผู้ป่วยรายกรณี ประกอบด้วย การค้นหาปัญหาจากการใช้ยา การปรับขนาดยา การให้ความรู้เกี่ยวกับการใช้ยา โรคไตเรื้อรังและการปฏิบัติตัว การส่งขอคำปรึกษาทีมสหวิชาชีพ โดยวัดผลลัพธ์ด้านคลินิก ได้แก่ ค่าความดันโลหิต และ ค่าการทำงานของไต ในขณะที่ผลลัพธ์ด้านการดำเนินการวัดจาก การค้นหาและแก้ไขปัญหาจากการใช้ยา การวัดความรู้ การประเมินความร่วมมือในการใช้ยา และคุณภาพชีวิต วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ Paired t test, Independent t test และ Repeated Measure ANOVA ในการเปรียบเทียบผลก่อนและหลังการให้ การบริบาลทางเภสัชกรรม และการเปรียบเทียบระหว่างกลุ่ม ตามลำดับ ในกลุ่มที่มีการกระจายตัวข้อมูลไม่ปกติใช้สถิติ Wilcoxon Signed Ranks Test และ Mann Whitney U test ผลการศึกษา พบว่า ผู้ป่วยทั้งสองกลุ่ม มีอายุเฉลี่ย 67 ปี เป็นเพศชาย ร้อยละ 62 ส่วนใหญ่เป็นโรคไตเรื้อรังระยะที่ 3a หรือ 3b เมื่อเปรียบเทียบผลลัพธ์ทางคลินิก พบว่าค่าการทำงานของไต (eGFR) ในกลุ่มทดลองเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ เมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มควบคุม (กลุ่มควบคุม: 39.77±12.66, กลุ่มทดลอง: 45.88±11.98; p<0.05) ในขณะที่การเปลี่ยนแปลงค่า SCr ไม่ได้มีความแตกต่างระหว่างทั้งสองกลุ่ม แต่อย่างไรก็ตามเมื่อเสร็จสิ้นการศึกษาพบค่า SCr ของกลุ่มทดลองมีระดับลดลง ในขณะที่กลุ่มควบคุมเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (กลุ่มควบคุม: 1.67±0.51, กลุ่มทดลอง: 1.50±0.45; p<0.05) ซึ่งแสดงให้เห็นภาวะการทำงานที่แย่ลงของไต นอกจากนี้ผลลัพธ์การดำเนินการในประเด็นคุณภาพชีวิต ความรู้เรื่องโรคและยา และความร่วมมือจากการใช้ยาของกลุ่มทดลองเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (EQ-5D-5L: 0.817±0.061, EQ-VAS: 78.47±6.25, ความรู้: 7.60 ±1.00, จำนวนร้อยละความร่วมมือในการใช้ยา: 66.13; p<0.001) ตามลำดับ สามารถตรวจจับและแก้ไขปัญหาจากการใช้ยาได้มากกว่ากลุ่มควบคุม การให้การบริบาลทางเภสัชกรรมรูปแบบการจัดการผู้ป่วยรายกรณีช่วยให้ผู้ป่วยมีส่วนช่วยให้ผู้ป่วยมีความรู้เรื่องยาเพิ่มขึ้นและลดปัญหาจากการใช้ยา ซึ่งน่าจะส่งผลต่อผลลัพธ์ทางคลินิก การชะลอการเสื่อมของไต และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น 2024-01-25T07:14:17Z 2024-01-25T07:14:17Z 2023 Thesis http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19336 th Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ application/pdf มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์