การประยุกต์ใช้การประเมินผลกระทบทางสุขภาพแบบเร่งด่วนเพื่อพัฒนารูปแบบการส่งเสริมกิจกรรมทางกายในสวนสาธารณะพื้นที่เทศบาลเมืองเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการระบบสุขภาพ), 2566
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
2024
|
Subjects: | |
Online Access: | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19338 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Prince of Songkhla University |
Language: | Thai |
id |
th-psu.2016-19338 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Prince of Songkhla University |
building |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
collection |
PSU Knowledge Bank |
language |
Thai |
topic |
รูปแบบกิจกรรมทางกาย การประเมินผลกระทบทางสุขภาพแบบเร่งด่วน สวนสาธารณะ |
spellingShingle |
รูปแบบกิจกรรมทางกาย การประเมินผลกระทบทางสุขภาพแบบเร่งด่วน สวนสาธารณะ วัลยา รุ่งโรจน์กำเนิด การประยุกต์ใช้การประเมินผลกระทบทางสุขภาพแบบเร่งด่วนเพื่อพัฒนารูปแบบการส่งเสริมกิจกรรมทางกายในสวนสาธารณะพื้นที่เทศบาลเมืองเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา |
description |
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการระบบสุขภาพ), 2566 |
author2 |
เพ็ญ สุขมาก |
author_facet |
เพ็ญ สุขมาก วัลยา รุ่งโรจน์กำเนิด |
format |
Theses and Dissertations |
author |
วัลยา รุ่งโรจน์กำเนิด |
author_sort |
วัลยา รุ่งโรจน์กำเนิด |
title |
การประยุกต์ใช้การประเมินผลกระทบทางสุขภาพแบบเร่งด่วนเพื่อพัฒนารูปแบบการส่งเสริมกิจกรรมทางกายในสวนสาธารณะพื้นที่เทศบาลเมืองเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา |
title_short |
การประยุกต์ใช้การประเมินผลกระทบทางสุขภาพแบบเร่งด่วนเพื่อพัฒนารูปแบบการส่งเสริมกิจกรรมทางกายในสวนสาธารณะพื้นที่เทศบาลเมืองเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา |
title_full |
การประยุกต์ใช้การประเมินผลกระทบทางสุขภาพแบบเร่งด่วนเพื่อพัฒนารูปแบบการส่งเสริมกิจกรรมทางกายในสวนสาธารณะพื้นที่เทศบาลเมืองเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา |
title_fullStr |
การประยุกต์ใช้การประเมินผลกระทบทางสุขภาพแบบเร่งด่วนเพื่อพัฒนารูปแบบการส่งเสริมกิจกรรมทางกายในสวนสาธารณะพื้นที่เทศบาลเมืองเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา |
title_full_unstemmed |
การประยุกต์ใช้การประเมินผลกระทบทางสุขภาพแบบเร่งด่วนเพื่อพัฒนารูปแบบการส่งเสริมกิจกรรมทางกายในสวนสาธารณะพื้นที่เทศบาลเมืองเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา |
title_sort |
การประยุกต์ใช้การประเมินผลกระทบทางสุขภาพแบบเร่งด่วนเพื่อพัฒนารูปแบบการส่งเสริมกิจกรรมทางกายในสวนสาธารณะพื้นที่เทศบาลเมืองเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา |
publisher |
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |
publishDate |
2024 |
url |
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19338 |
_version_ |
1789484312102436864 |
spelling |
th-psu.2016-193382024-01-25T07:23:23Z การประยุกต์ใช้การประเมินผลกระทบทางสุขภาพแบบเร่งด่วนเพื่อพัฒนารูปแบบการส่งเสริมกิจกรรมทางกายในสวนสาธารณะพื้นที่เทศบาลเมืองเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา Application of Rapid Health Impact Assessment to Develop A Physical Activity Promotion Model of Betong Municipality Park, Betong District, Yala Province วัลยา รุ่งโรจน์กำเนิด เพ็ญ สุขมาก Health System Management Institute สถาบันการจัดการระบบสุขภาพ รูปแบบกิจกรรมทางกาย การประเมินผลกระทบทางสุขภาพแบบเร่งด่วน สวนสาธารณะ วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการระบบสุขภาพ), 2566 The purpose of this descriptive research was to develop a physical activity promotion model of Betong Municipality Park, Betong District, Yala Province; by conducting the study according to the 4 steps of health impact assessment, consisting of screening, scoping and impact assessment guideline setting, impact assessment, and review of the draft public evaluation report, conducted between October 2020 and March 2021; collecting data by system for observing play and recreation in communities (SOPARC), satisfaction survey, in-depth interview, focusgroup, and arranging a forum to listen to opinions from a selective group of 50 informants, consisting of Betong municipality administrators and park user representatives, and randomly selected 217 people who used the park in each zone; to survey their satisfaction, analyzed the quantitative data by descriptive statistics, percentage, mean and standard deviation; and analyzed the qualitative data by content analysis. The research results showed that Betong Municipality Park consists of 5 zones, which are the Central Stadium Zone, Rama IX Health Park Zone, Sud Siam Park Zone, Playground Zone, and Golden Jubilee Sports Center Zone. The behavior of park users in all zones in 1 week, there were a total of 2,067 people using Betong MunicipalityPark, an average of 295 people per day, with an average of 268 people using the park on weekdays (Monday to Friday), and with an average of 364 people using the park on weekends (Saturday and Sunday); classified by age group, it is the most adult group, 57.5%, followed by adolescents, 25.4%, the elderly 15.2%, and the least childhood, 1.84%. The physical activity models, number of park users, and level of physical activity by zones; it was found that: 1) the Central Stadium Zone, there were exercise and sports activities such as walking, running, and football; there was the adult group used the most 73.16%, followed by the elderly 13.83%, the group of garden users had the lightest physical activity 53.43%, followed by moderate tovigorous physical activity 43.44%. 2) Rama IX Health Garden Zone, there were recreational activities such as walking, stretching muscles, and sitting/chatting. There were adults and adolescents who used the most, 50.80% and 42.74%, respectively. The garden users had the most sedentary behavior, 36.69%, followed by 35.08% light-intensity physical activity. 3) Sud Siam Park Zone, with recreational activities such as sitting and chatting/sitting and walking in the garden, used by adults and adolescents the most, 43.64 and 30.58 %, respectively. The garden users group had the most sedentary behavior, 44.67%, followed by 34.36% of light-intensity physical activity. 4) Playground Zone, with recreational activities such as chatting/sitting and children playing at the playground. There were adults and adolescents who used the most, 39.94% and 37.02%, respectively. The group of gardeners had the most sedentary behavior, 66.18%, followed by a light-intensity physical activity, 21.87%. 5) Golden Jubilee Sports Center Zone, there were sports activities such as futsal, sepak takraw, badminton, and petanque, with adults and adolescents using the most, 53.95% and 29.37 respectively. The group of garden users had the lightest physical activity, 53.95%, followed by moderate to vigorous physical activity, 25.14%. The results of the analysis of physical activity levels including 5 zones found that light-intensity physical activity was the highest 43.40%, followed by moderate to vigorous30.09%, and the least sedentary behavior26.51%. The level of satisfaction of users of the Betong Municipality Park, it was found that 100% of the overall respondents were satisfied at a high level (X̅= 3.78, S.D. = 0.796) and the assessment of the physical characteristics of the park, it was found that there was a lack of continual maintenance in terms of the physical characteristics of the park and the physical activity promotion model for park users of all age groups. This research has important proposals which are improving the surface condition of the walkway/running track of the Central Stadium, beautifying the landscape around Rama IX Health Park and Sud Siam Park, repairing the playing equipment; and should provide a lighting system around the park walkway. The results of this study are therefore beneficial to Betong Municipality in promoting and increasing the level of physical activity of park users to be comprehensive and in line with the needs of the people. การวิจัยเชิงพรรณนาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนารูปแบบการส่งเสริมกิจกรรมทางกายใน สวนสาธารณะพื้นที่เทศบาลเมืองเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา โดยดำเนินการศึกษาตามขั้นตอน การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ 4 ขั้นตอน ประกอบด้วย การกลั่นกรอง การกำหนดขอบเขตและ แนวทางการประเมินผลกระทบ การประเมินผลกระทบ และการทบทวนร่างรายงานผลการประเมิน โดยสาธารณะ ดำเนินการระหว่างเดือนตุลาคม 2563 ถึง เดือนมีนาคม 2564 เก็บรวบรวมข้อมูลด้วย วิธีการสังเกตพฤติกรรมผู้ใช้สวนสาธารณะ สำรวจความพึงพอใจ สัมภาษณ์เชิงลึก ประชุมกลุ่มย่อย และจัดเวทีรับฟังความคิดเห็น จากกลุ่มผู้ให้ข้อมูลที่คัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจง จำนวน 50 คน ประกอบด้วยผู้บริหารเทศบาลเมืองเบตงและตัวแทนผู้ใช้สวนสาธารณะ และคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างผู้ใช้ สวนสาธารณะแต่ละโซนแบบบังเอิญ จำนวน 217 คน เพื่อสำรวจความพึงพอใจ วิเคราะห์ข้อมูลเชิง ปริมาณด้วยสถิติเชิงพรรณนา ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิเคราะห์ข้อมูลเชิง คุณภาพด้วยการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการวิจัย พบว่า สวนสาธารณะเทศบาลเมืองเบตง ประกอบด้วย 5 โซน คือ โซนสนามกีฬา กลาง โซนสวนสุขภาพ ร.9 โซนสวนสุดสยาม โซนสนามเด็กเล่น และโซนศูนย์การกีฬากาญจนาภิเษก พฤติกรรมของผู้ใช้สวนสาธารณะภาพรวมทุกโซนใน 1 สัปดาห์มีผู้ใช้สวนสาธารณะเทศบาลเมืองเบตง ทั้งหมด 2,067 คน เฉลี่ย 295 คนต่อวัน โดยวันธรรมดา (จันทร์ถึงศุกร์) มีผู้ใช้สวนสาธารณะเฉลี่ย 268 คน และวันหยุดสุดสัปดาห์ (เสาร์และอาทิตย์) มีผู้ใช้สวนสาธารณะเฉลี่ย 364 คน โดยจำแนก ตามกลุ่มวัย เป็นกลุ่มวัยผู้ใหญ่ มากที่สุด ร้อยละ 57.5 รองลงมาคือ วัยรุ่น ร้อยละ 25.4 วัยผู้สูงอายุ ร้อยละ 15.2 และวัยเด็ก น้อยที่สุด ร้อยละ 1.84 รูปแบบกิจกรรมทางกาย จำนวนผู้ใช้สวนสาธารณะ และระดับกิจกรรมทางกายแยกตามโซน พบว่า 1) โซนสนามกีฬากลาง มีกิจกรรมการออกกำลังกายและกีฬา เช่น การเดิน, การวิ่ง และ ฟุตบอล มีกลุ่มวัยผู้ใหญ่มาใช้มากที่สุด ร้อยละ 73.16 รองลงมาคือวัยผู้สูงอายุ ร้อยละ 13.83 กลุ่ม ผู้ใช้สวนมีกิจกรรมทางกายระดับเบา มากที่สุด ร้อยละ 53.43 รองลงมา มีกิจกรรมทางกายระดับปาน กลางถึงหนัก ร้อยละ 43.44 2) โซนสวนสุขภาพ ร.9 มีกิจกรรมนันทนาการ เช่น การเดิน, ยืดเหยียดกล้ามเนื้อ และการนั่งคุย/นั่งเล่น มีกลุ่มวัยผู้ใหญ่และวัยรุ่นมาใช้มากที่สุด ร้อยละ 50.80 และ 42.74 ตามลำดับ กลุ่มผู้ใช้สวนมีกิจกรรมทางกายระดับเนือยนิ่ง มากที่สุด ร้อยละ 36.69 รองลงมา มี กิจกรรมทางกายระดับเบา ร้อยละ 35.08 3) โซนสวนสุดสยาม มีกิจกรรมนันทนาการ เช่น การนั่ง คุย/นั่งเล่น และเดินในสวน มีกลุ่มวัยผู้ใหญ่และวัยรุ่นมาใช้มากที่สุด ร้อยละ 43.64 และ 30.58 ตามลำดับ กลุ่มผู้ใช้สวนมีกิจกรรมทางกายระดับเนือยนิ่ง มากที่สุด ร้อยละ 44.67 รองลงมา มี กิจกรรมทางกายระดับเบา ร้อยละ 34.36 4) โซนสนามเด็กเล่น มีกิจกรรมนันทนาการ เช่น การนั่ง คุย/นั่งเล่น และเด็กเล่นที่สนามเด็กเล่น มีกลุ่มวัยผู้ใหญ่และวัยรุ่นมาใช้มากที่สุด ร้อยละ 39.94 และ 37.02 ตามลำดับ กลุ่มผู้ใช้สวนมีกิจกรรมทางกายระดับเนือยนิ่ง มากที่สุด ร้อยละ 66.18 รองลงมา มี กิจกรรมทางกายระดับเบา ร้อยละ 21.87 5) โซนศูนย์การกีฬากาญจนาภิเษก มีกิจกรรมกีฬา เช่น ฟุตซอล ตะกร้อ แบดมินตัน และเปตอง มีกลุ่มวัยผู้ใหญ่และวัยรุ่นมาใช้มากที่สุด ร้อยละ 53.95 และ 29.37 ตามลำดับ กลุ่มผู้ใช้สวนมีกิจกรรมทางกายระดับเบา มากที่สุด ร้อยละ 53.95 รองลงมา มี กิจกรรมทางกายระดับปานกลางถึงหนัก ร้อยละ 25.14 ผลการวิเคราะห์ระดับกิจกรรมทางกายภาพ รวมทั้ง 5 โซน พบกิจกรรมทางกายระดับเบา มากที่สุด ร้อยละ 43.40 รองลงมาเป็นระดับปานกลาง ถึงหนัก ร้อยละ 30.09 และระดับเนือยนิ่ง น้อยที่สุด ร้อยละ 26.51 ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้สวนสาธารณะเทศบาลเมืองเบตง พบว่า ร้อยละ 100 ภาพรวม ของผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก (X̅= 3.78, S.D. = 0.796) และผลการ ประเมินคุณลักษณะทางกายภาพของสวนสาธารณะ พบว่า ยังขาดการดูแลรักษาที่ต่อเนื่องทั้งในด้าน คุณลักษณะทางกายภาพของสวนสาธารณะและด้านการส่งเสริมรูปแบบกิจกรรมทางกายแก่ผู้ใช้ สวนสาธารณะในทุกกลุ่มวัย การวิจัยครั้งนี้ มีข้อเสนอที่สำคัญคือ การปรับปรุงสภาพพื้นผิวของทางเดิน/ลู่วิ่งสนามกีฬา กลาง การปรับปรุงภูมิทัศน์ให้สวยงามบริเวณสวนสุขภาพ ร.9 และสวนสุดสยาม ซ่อมแซมอุปกรณ์ เครื่องเล่น และควรจัดระบบไฟส่องสว่างรอบทางเดินสวนสาธารณะ ผลการศึกษานี้จึงเป็นประโยชน์ ต่อเทศบาลเมืองเบตงในการส่งเสริมและเพิ่มระดับกิจกรรมทางกายของผู้ใช้สวนสาธารณะ ให้มีความ ครอบคลุมและสอดคล้องกับความต้องการประชาชน 2024-01-25T07:23:03Z 2024-01-25T07:23:03Z 2023 Thesis http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19338 th Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ application/pdf มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |