การจัดการเมื่อเจ็บป่วยของชาวมานิ อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง

วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการระบบสุขภาพ), 2566

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: บุญเรือง ปลอดภัย
Other Authors: กาญจน์สุนภัส บาลทิพย์
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 2024
Subjects:
Online Access:http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19340
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Prince of Songkhla University
Language: Thai
id th-psu.2016-19340
record_format dspace
institution Prince of Songkhla University
building Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
collection PSU Knowledge Bank
language Thai
topic การจัดการ
เจ็บป่วย
มานิ
spellingShingle การจัดการ
เจ็บป่วย
มานิ
บุญเรือง ปลอดภัย
การจัดการเมื่อเจ็บป่วยของชาวมานิ อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง
description วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการระบบสุขภาพ), 2566
author2 กาญจน์สุนภัส บาลทิพย์
author_facet กาญจน์สุนภัส บาลทิพย์
บุญเรือง ปลอดภัย
format Theses and Dissertations
author บุญเรือง ปลอดภัย
author_sort บุญเรือง ปลอดภัย
title การจัดการเมื่อเจ็บป่วยของชาวมานิ อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง
title_short การจัดการเมื่อเจ็บป่วยของชาวมานิ อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง
title_full การจัดการเมื่อเจ็บป่วยของชาวมานิ อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง
title_fullStr การจัดการเมื่อเจ็บป่วยของชาวมานิ อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง
title_full_unstemmed การจัดการเมื่อเจ็บป่วยของชาวมานิ อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง
title_sort การจัดการเมื่อเจ็บป่วยของชาวมานิ อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง
publisher มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
publishDate 2024
url http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19340
_version_ 1789484312454758400
spelling th-psu.2016-193402024-01-25T07:34:31Z การจัดการเมื่อเจ็บป่วยของชาวมานิ อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง Sickness-Management of Maniq, Pa Bon District, Phatthalung Province บุญเรือง ปลอดภัย กาญจน์สุนภัส บาลทิพย์ Health System Management Institute สถาบันการจัดการระบบสุขภาพ การจัดการ เจ็บป่วย มานิ วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการระบบสุขภาพ), 2566 The purpose of this qualitative research was to describe the management of sickness among the Maniq living in Pa Bon District, Phatthalung Province. There were 30 key informants, consisting of 9 Maniq people and 21 people involved in assisting the Maniq, selected by a purposive sampling method. Data were collected by semi-structured in-depth interviews together with non-participatory observation and field notes. Data were analyzed by content analysis. The findings revealed 3 characteristics of the symptoms and the management of the Maniq’ sickness. 1. The sickness managed by traditional wisdom: These include minor sickness that occur often and can be managed by the Maniq themselves. H erbal medicines, various parts of animals, salt and ashes are used for treatment. Laying near the fire is also another treatment option used by the Maniq. They also buy medicine themselves. Spells are also used with herbs, or spells are used alone for treatment. In addition to the management of physical sickness, the Maniq have also managed their psychological symptoms through consultation, singing and playing the musical instruments made by themselves for relaxation. Assistance and support in accordance with the Maniq’s way of life should be provided. 2. The sickness managed primarily by the Maniq and the modern health system: The Maniq usually treat these sickness by the wisdom passed down from their ancestors, such as using herbal medicines, various parts of animals and magic spells for about 2-3 days. If the symptoms are not improved, the patients will be taken to Tambon Health Promoting Hospital or hospital. Assistance should be provided for the prevention and management of sickness. 3. The sickness managed entirely by the modern health system: The Maniq have no experiences and knowledge passed down from their ancestors for treating these sickness. They usually use herbal medicines for primary treatment for 3-7 days. If the patients are at risk of disabilities and death, the community leaders will take them to the hospital to receive treatment with modern medicine. The support meeting the Maniq’s needs when they are sick should be provided. Moreover, they should be supported with the things they lack according to their way of life. Also, their lifestyles must not be changed much, just to adapt to survive. This study is beneficial to the policymakers and the stakeholders in developing, promoting, supporting and assisting the Maniq’s sickness management systematically in line with their lifestyles and needs on the basis of human dignity and equality. การศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อบรรยายการจัดการเมื่อเจ็บป่วย ของชาวมานิ อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง ผู้ให้ข้อมูล จำนวน 30 คน ประกอบด้วยกลุ่มมานิทับป่า บอน จำนวน 9 คน และกลุ่มผู้เกี่ยวข้องในการให้การช่วยเหลือมานิ จำนวน 21 คน คัดเลือกแบบ เฉพาะเจาะจง เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกแบบกึ่งโครงสร้าง ร่วมกับการสังเกต แบบไม่มีส่วนร่วม และการบันทึกภาคสนาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการศึกษาพบว่า อาการและการจัดการเมื่อเจ็บป่วยของมานิ มี 3 ลักษณะ ดังนี้ 1. การจัดการการเจ็บป่วยที่มานิใช้ภูมิปัญญาดั้งเดิม เป็นอาการเจ็บป่วยเล็กน้อยที่ เกิดขึ้นบ่อยสามารถจัดการเองได้ โดยการใช้ยาสมุนไพร การนำส่วนต่าง ๆ ของสัตว์มารักษา การทา เกลือ การทาขี้เถ้า การนอนผิงไฟ การซื้อยากินเอง การใช้คาถาควบคู่กับการใช้สมุนไพร หรือการใช้ คาถาเพียงอย่างเดียว นอกจากการจัดการอาการเจ็บป่วยทางร่างกายแล้ว มานิสามารถจัดการอาการ ทางจิตใจด้วยการปรึกษาหารือกัน การร้องเพลงและเล่นเครื่องดนตรีที่ทำขึ้นเอง มีเสียงทำนอง สนุกสนาน เพื่อผ่อนคลาย ควรมีการช่วยเหลือส่งเสริมสนับสนุนให้สอดคล้องกับวิถีชีวิตของมานิ 2. การจัดการการเจ็บป่วยที่มานิจัดการได้เบื้องต้นและพึ่งพาระบบสุขภาพแผน ปัจจุบัน เป็นอาการเจ็บป่วยที่มานิรักษาโดยใช้ภูมิปัญญาที่ได้รับการถ่ายทอดมาจากบรรพบุรุษด้วย การใช้ยาสมุนไพร การนำส่วนต่าง ๆ ของสัตว์มารักษา และการใช้คาถา รักษาประมาณ 2-3 วัน หาก อาการไม่ดีขึ้น ผู้นำกลุ่มหรือผู้ให้การช่วยเหลือจะนำผู้ป่วยมารักษาที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล หรือโรงพยาบาล ควรมีการช่วยเหลือในการจัดการเพื่อป้องกันการเจ็บป่วยและจัดการเมื่อเจ็บป่วย 3. การจัดการการเจ็บป่วยที่มานิต้องพึ่งพาระบบสุขภาพแผนปัจจุบันทั้งหมด เป็น อาการที่มานิไม่มีประสบการณ์ความรู้ที่ถ่ายทอดมาจากบรรพบุรุษ มานิใช้ยาสมุนไพรรักษาเบื้องต้น ก่อน 3-7 วัน ลักษณะอาการมีความเสี่ยงต่อความพิการและเสียชีวิต ผู้นำกลุ่มหรือผู้ให้การช่วยเหลือ จะนำผู้ป่วยมารักษากับแพทย์แผนปัจจุบันที่โรงพยาบาล ควรมีการช่วยเหลือที่ตอบสนองความ ต้องการเมื่อเจ็บป่วยของมานิ ส่งเสริมในส่วนที่ขาดให้เป็นไปตามวิถีชีวิตของเขาไม่ให้เปลี่ยนแปลงมาก แต่ต้องปรับตัวเพื่อความอยู่รอด การศึกษาครั้งนี้เป็นประโยชน์ต่อผู้กำหนดนโยบายและผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการ พัฒนา ส่งเสริม สนับสนุนและช่วยเหลือการจัดการเมื่อเจ็บป่วยของมานิที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตและ ความต้องการของมานิอย่างเป็นระบบบนพื้นฐานศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ที่เท่าเทียมกัน 2024-01-25T07:32:38Z 2024-01-25T07:32:38Z 2023 Thesis http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19340 th Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ application/pdf มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์