การใช้เมล็ดทุเรียนบดเป็นแหล่งพลังงานในอาหารข้นสำหรับแพะพื้นเมืองไทยเพศผู้
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร), 2566
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
2024
|
Subjects: | |
Online Access: | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19415 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Prince of Songkhla University |
Language: | Thai |
id |
th-psu.2016-19415 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Prince of Songkhla University |
building |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
collection |
PSU Knowledge Bank |
language |
Thai |
topic |
เมล็ดทุเรียนบด อาหารข้น แพะ อาหารแพะ เมล็ดทุเรียน ทางใบปาล์มน้ำมันหมัก |
spellingShingle |
เมล็ดทุเรียนบด อาหารข้น แพะ อาหารแพะ เมล็ดทุเรียน ทางใบปาล์มน้ำมันหมัก ชื่นกมล แสงรัตน์ การใช้เมล็ดทุเรียนบดเป็นแหล่งพลังงานในอาหารข้นสำหรับแพะพื้นเมืองไทยเพศผู้ |
description |
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร), 2566 |
author2 |
เทียนทิพย์ ไกรพรม |
author_facet |
เทียนทิพย์ ไกรพรม ชื่นกมล แสงรัตน์ |
format |
Theses and Dissertations |
author |
ชื่นกมล แสงรัตน์ |
author_sort |
ชื่นกมล แสงรัตน์ |
title |
การใช้เมล็ดทุเรียนบดเป็นแหล่งพลังงานในอาหารข้นสำหรับแพะพื้นเมืองไทยเพศผู้ |
title_short |
การใช้เมล็ดทุเรียนบดเป็นแหล่งพลังงานในอาหารข้นสำหรับแพะพื้นเมืองไทยเพศผู้ |
title_full |
การใช้เมล็ดทุเรียนบดเป็นแหล่งพลังงานในอาหารข้นสำหรับแพะพื้นเมืองไทยเพศผู้ |
title_fullStr |
การใช้เมล็ดทุเรียนบดเป็นแหล่งพลังงานในอาหารข้นสำหรับแพะพื้นเมืองไทยเพศผู้ |
title_full_unstemmed |
การใช้เมล็ดทุเรียนบดเป็นแหล่งพลังงานในอาหารข้นสำหรับแพะพื้นเมืองไทยเพศผู้ |
title_sort |
การใช้เมล็ดทุเรียนบดเป็นแหล่งพลังงานในอาหารข้นสำหรับแพะพื้นเมืองไทยเพศผู้ |
publisher |
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |
publishDate |
2024 |
url |
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19415 |
_version_ |
1800917843078807552 |
spelling |
th-psu.2016-194152024-05-29T04:35:09Z การใช้เมล็ดทุเรียนบดเป็นแหล่งพลังงานในอาหารข้นสำหรับแพะพื้นเมืองไทยเพศผู้ The Use of Ground Durian Seed as Energy Source in Concentrate for Thai Native Male Goat ชื่นกมล แสงรัตน์ เทียนทิพย์ ไกรพรม Faculty of Science and Industrial Technology คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม เมล็ดทุเรียนบด อาหารข้น แพะ อาหารแพะ เมล็ดทุเรียน ทางใบปาล์มน้ำมันหมัก วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร), 2566 The objective of this research was to evaluate effect of durian seed meal (DSM) substitution for ground corn (GC) in concentrate with oil palm frond silage as roughage source on feed intake, digestibility coefficient, volatile fatty acid in rumen, nitrogen balance and blood metabolite in Thai-Native male goats. Five goats with 1 years old and average body weight 24.20 ± 1.15 kg, were arranged in 5x5 Latin square design for 105 days study. The goats was fed with concentrate containing DSM at 0, 25, 50, 75 or 100% substitution for GC. The results showed that the DM, OM, CP, EE, NFE, NDF, ADF and ADL of DSM were 32.93, 95.90, 8.48, 0.26, 81.50, 43.76, 24.09 and 14.32%. The chemical composition of concentrate containing DSM at 0, 25, 50, 75 or 100% substitution for GC as DM basis was 95.25-96.71% OM, 15.08-16.50% CP, 1.49- 5.93% EE, 4.13-5.60% CF, 70.64-72.16% NFE, 35.48-46.52% NDF, 5.93-22.54 ADF, 0.79- 12.15% ADL and 4.29-4.56 Mcal/g GE. The DMI (1,318.81 g/h/d), OMI (1,252.49 g/h/d or 5.01 %BW) and CPI (143.72 g/h/d) in goat fed concentrate containing DSM at 50% substitution for GC was higher than goat fed concentrate containing DSM at 0, 25, 75 and 100% substitution for GC, But not significance was found among treatments (P>0.05). Digestibility coefficient of DM, OM, CP, EE, CF, NDF and TDN of goat fed concentrate containing DSM at 0, 25, 50, 75 and 100% substitution for GC was not significant (P>0.05). Nitrogen balance in goat fed concentrate containing DSM at 25, 75 and 100% substitution for GC were significantly higher than goat fed concentrate containing DSM at 0% (P<0.05). ME of goat fed concentrate containing DSM at 0, 25, 75 and 100% substitution for GC was not significant (P>0.05). pH in rumen in goat fed concentrate containing DSM at 75 and 100% substitution for GC were significantly higher than goat fed concentrate containing DSM at 0% (P<0.05). NH3 -N, VFA, percent of acetic acid (C2), propionic acid (C3) and butyric acid (C4) and C2:C3 ratio in rumen fluid of goat fed concentrate containing DSM at 0, 25, 50, 75 and 100% substitution for GC was not significant (P>0.05). Furthermore, PCV, glucose and urea-nitrogen in blood of goat fed concentrate containing DSM at 0, 25, 50, 75 and 100% substitution for GC was not significant (P>0.05). In conclusion, can be use concentrate containing DSM high level at 100% substitution for GC did not affect feed intake, digestibility coefficient, status in rumen, nitrogen balance and blood metabolite in goat. การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการใช้เมล็ดทุเรียนบดแห้งเป็นแหล่ง พลังงานทดแทนข้าวโพดบดในสูตรอาหารข้นร่วมกับการใช้ทางใบปาล์มน้ำมันหมักเป็นแหล่งอาหาร หยาบต่อปริมาณการกินได้ สัมประสิทธิ์การย่อยได้ของโภชนะ กรดไขมันที่ระเหยง่ายในกระเพาะรู เมน สมดุลไนโตรเจนและค่าเมแทบอไลต์ในเลือดในแพะพื้นเมืองเพศผู้ อายุ 1 ปี น้ำหนักตัว 24.20 ± 1.15 กิโลกรัม จำนวน 5 ตัว ใช้แผนการทดลองแบบ 5 x 5 ลาตินสแควร์ เป็นระยะเวลา 105 วัน อาหารข้นใช้เมล็ดทุเรียนบดแห้งทดแทนข้าวโพดบดในระดับ 0, 25, 50, 75 และ 100 เปอร์เซ็นต์ ผล การทดลอง พบว่า เมล็ดทุเรียนบดแห้งมีคุณค่าทางโภชนะ ได้แก่ วัตถุแห้ง อินทรียวัตถุ โปรตีน ไขมัน ไนโตรเจนฟรีเอกซ์แทรก ผนังเซลล์ ลิกโนเซลลูโลส และลิกนิน เท่ากับ 32.93, 95.90, 8.48, 0.26, 81.50, 43.76, 24.09 และ 14.32 เปอร์เซ็นต์ องค์ประกอบทางเคมีของอาหารข้นที่ใช้เมล็ดทุเรียนบด แห้งเป็นแหล่งพลังงานทดแทนข้าวโพดบด 0, 25, 50, 75 และ 100 เปอร์เซ็นต์บนฐานวัตถุแห้ง พบว่า มีอินทรียวัตถุ 95.25-96.71 เปอร์เซ็นต์ โปรตีนรวม 15.08-16.50 เปอร์เซ็นต์ ไขมันรวม 1.49-5.93 เปอร์เซ็นต์ เยื่อใยรวม 4.13-5.60 เปอร์เซ็นต์ ไนโตรเจนฟรีเอกซ์แทรก 70.64-72.16 เปอร์เซ็นต์ ผนังเซลล์ 35.48-46.52 เปอร์เซ็นต์ ลิกโนเซลลูโลส 5.93-22.54 เปอร์เซ็นต์ ลิกนิน 0.79-12.15 เปอร์เซ็นต์ และพลังงานรวม 4.29-4.56 เมกกะแคลอรี่ต่อกรัม ปริมาณการกินได้ของวัตถุแห้ง (1,318.81 กรัมต่อตัวต่อวัน) ปริมาณอินทรียวัตถุที่กินได้ (1,252.49 กรัมต่อตัวต่อวัน) และปริมาณ โปรตีนที่กินได้ (143.72 กรัมต่อตัวต่อวัน) ของแพะที่ได้รับอาหารข้นที่ใช้เมล็ดทุเรียนบดแห้งเป็น แหล่งพลังงานทดแทนข้าวโพดบดที่ระดับ 50 เปอร์เซ็นต์สูงกว่าแพะที่ได้รับอาหารข้นที่ใช้เมล็ดทุเรียน บดแห้งเป็นแหล่งพลังงานทดแทนข้าวโพดบดที่ระดับ 0, 25, 75 และ 100 เปอร์เซ็นต์ แต่ไม่มีความ แตกต่างกันทางสถิติ (P>0.05) ส่วนสัมประสิทธิ์การย่อยได้ของวัตถุแห้ง อินทรียวัตถุ โปรตีนรวม ไขมันรวม เยื่อใย รวม ผนังเซลล์ และโภชนะรวมที่ย่อยได้ของแพะที่ได้รับอาหารข้นที่ใช้เมล็ดทุเรียนเป็นแหล่งพลังงาน ทดแทนข้าวโพดบดที่ระดับ 0, 25, 50, 75 และ 100 เปอร์เซ็นต์ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ (P> 0.05) สมดุลไนโตรเจนของแพะที่ได้รับอาหารข้นที่ใช้เมล็ดทุเรียนเป็นแหล่งพลังงานทดแทนข้าวโพดบดที่ระดับ 25, 50, 75 และ 100 เปอร์เซ็นต์ มีค่าสูงกว่าแพะที่ได้รับอาหารข้นที่ใช้เมล็ดทุเรียนเป็น แหล่งพลังงานทดแทนข้าวโพดบดที่ระดับ 0 เปอร์เซ็นต์ (P<0.05) นอกจากนั้นพลังงานที่ใช้ประโยชน์ ได้ของแพะที่ได้รับอาหารข้นที่ใช้เมล็ดทุเรียนทดแทนข้าวโพดบดที่ระดับ 0, 25, 50, 75 และ 100 เปอร์เซ็นต์ มีค่าไม่แตกต่างกันทางสถิติ (P>0.05) ค่าความเป็นกรด-ด่างในของเหลวจากกระเพาะรูเมนของแพะที่ได้รับอาหารข้นที่ใช้ เมล็ดทุเรียนบดแห้งเป็นแหล่งพลังงานทดแทนข้าวโพดบดที่ระดับ 75 และ 100 เปอร์เซ็นต์มีค่าสูงกว่า แพะที่ได้รับอาหารข้นที่ใช้เมล็ดทุเรียนบดแห้งเป็นแหล่งพลังงานทดแทนข้าวโพดบดที่ระดับ 0 เปอร์เซ็นต์ แตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) ระดับความเข้มข้นของแอมโมเนีย-ไนโตรเจน กรดไขมันระเหยง่ายทั้งหมด เปอร์เซ็นต์กรดอะซิติก กรดโพรพิโอนิก กรดบิวทิริก และสัดส่วนกรดอะซิติกต่อกรดโพรพิโอนิกใน ของเหลวจากกระเพาะรูเมน ของแพะที่ได้รับอาหารข้นที่ใช้เมล็ดทุเรียนบดแห้งเป็นแหล่งพลังงาน ทดแทนข้าวโพดบดที่ระดับ 0, 25, 50, 75 และ 100 เปอร์เซ็นต์ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ (P> 0.05) นอกจากนั้น ค่าปริมาณเม็ดเลือดแดงอัดแน่น กลูโคส ยูเรียไนโตรเจนในเลือดของแพะทุกกลุ่มมี ค่าไม่แตกต่างกันทางสถิติ (P>0.05) จากการทดลองสามารถใช้เมล็ดทุเรียนบดแห้งเป็นแหล่งพลังงาน ทดแทนข้าวโพดบดในสูตรอาหารข้นสำหรับแพะได้ถึงระดับ 100 เปอร์เซ็นต์ โดยไม่ส่งผลกระทบต่อ ปริมาณการกินได้ สัมประสิทธิ์การย่อยได้ของโภชนะ สภาวะภายในกระเพาะรูเมน สมดุลไนโตรเจน และค่าเมแทบอไลซ์ในเลือดแพะ 2024-05-29T04:34:46Z 2024-05-29T04:34:46Z 2023 Thesis http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19415 th Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ application/pdf มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |