การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ตามแนวคิดสะเต็มศึกษาเพื่อส่งเสริมความฉลาดรู้ทางวิทยาศาสตร์และเจตคติต่อวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (หลักสูตรและการสอน), 2566

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: นารีมะห์ วาโด
Other Authors: ฮามีด๊ะ มูสอ
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 2024
Subjects:
Online Access:http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19432
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Prince of Songkhla University
Language: Thai
id th-psu.2016-19432
record_format dspace
institution Prince of Songkhla University
building Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
collection PSU Knowledge Bank
language Thai
topic รูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา
ความฉลาดรู้ทางวิทยาศาสตร์
เจตคติต่อวิทยาศาสตร์
กระบวนการเชิงวิศวกรรม
spellingShingle รูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา
ความฉลาดรู้ทางวิทยาศาสตร์
เจตคติต่อวิทยาศาสตร์
กระบวนการเชิงวิศวกรรม
นารีมะห์ วาโด
การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ตามแนวคิดสะเต็มศึกษาเพื่อส่งเสริมความฉลาดรู้ทางวิทยาศาสตร์และเจตคติต่อวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
description ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (หลักสูตรและการสอน), 2566
author2 ฮามีด๊ะ มูสอ
author_facet ฮามีด๊ะ มูสอ
นารีมะห์ วาโด
format Theses and Dissertations
author นารีมะห์ วาโด
author_sort นารีมะห์ วาโด
title การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ตามแนวคิดสะเต็มศึกษาเพื่อส่งเสริมความฉลาดรู้ทางวิทยาศาสตร์และเจตคติต่อวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
title_short การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ตามแนวคิดสะเต็มศึกษาเพื่อส่งเสริมความฉลาดรู้ทางวิทยาศาสตร์และเจตคติต่อวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
title_full การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ตามแนวคิดสะเต็มศึกษาเพื่อส่งเสริมความฉลาดรู้ทางวิทยาศาสตร์และเจตคติต่อวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
title_fullStr การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ตามแนวคิดสะเต็มศึกษาเพื่อส่งเสริมความฉลาดรู้ทางวิทยาศาสตร์และเจตคติต่อวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
title_full_unstemmed การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ตามแนวคิดสะเต็มศึกษาเพื่อส่งเสริมความฉลาดรู้ทางวิทยาศาสตร์และเจตคติต่อวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
title_sort การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ตามแนวคิดสะเต็มศึกษาเพื่อส่งเสริมความฉลาดรู้ทางวิทยาศาสตร์และเจตคติต่อวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
publisher มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
publishDate 2024
url http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19432
_version_ 1802995670033891328
spelling th-psu.2016-194322024-06-04T09:04:21Z การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ตามแนวคิดสะเต็มศึกษาเพื่อส่งเสริมความฉลาดรู้ทางวิทยาศาสตร์และเจตคติต่อวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 The Development of Science Learning Model Based on STEM Education to Enhance Scientific Literacy and Attitudes towards Science among Prathomseuksa 6 Students นารีมะห์ วาโด ฮามีด๊ะ มูสอ Faculty of Education (Learning, Teaching, and Curriculum program) คณะศึกษาศาสตร์ สาขาวิชาการเรียนรู้ การสอน และหลักสูตร รูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา ความฉลาดรู้ทางวิทยาศาสตร์ เจตคติต่อวิทยาศาสตร์ กระบวนการเชิงวิศวกรรม ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (หลักสูตรและการสอน), 2566 Science and technology were considered an important tool to determine the aspect of the development of society and the nation nowadays. In order to develop technology and create an innovation, it is necessary to support the scientific literacy of students. The purposes of this research were to 1) develop the science Learning model based on STEM education to enhance scientific literacy and attitudes towards science among Prathomseuksa 6 students, 2) compared scientific learning before and after implementation 3) compared the student’s attitudes towards science learning before and after implementation. The samples group consisted of 13 students in the first semester of 2022. The research instruments were the science Learning model based on STEM education manual, lesson plan, the science achievement test, attitudes towards science’s assessment, field note. The data were analyzed by using mean of percentage, arithmetic mean, standard deviation, Dependent Sample T-test and content analysis. The research found that; 1) The science Learning model based on STEM education are consist of 6 elements; 1. principle 2. objective 3. learning content 4. process of learning teaching of 7 steps 1) Identify Problem 2) Search Related Information 3) Design Solution 4) Plan and Solve Problem 5) Test Evaluation and Design Improvement 6) Present and Reflect Feedback and 7) Crystalize Core concept 5. media and visuals 6. measurements and evaluation by following the result of The Joint Committee on Standard of Educational Evaluation of 4 standards had mean score in high level. 2) The science literacy were higher than before experiment at the level of .05 significant. 3) The student’s attitudes towards science learning were higher than before at the level .05 significance. Hence, the students of Prathomsuksa 6 were able to do the activity or complete the task with creativity. Moreover, they had skills in term of scientific literacy and attitudes towards science were obviously higher. In addition, the result of scientific competence of students were improved and had reflected the results that the students were interested toward the activity. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีถือว่าเป็นเครื่องมือสำคัญที่ใช้กำหนดทิศทางการพัฒนาของสังคมและประเทศชาติในปัจจุบัน เพื่อให้เกิดการพัฒนาเทคโนโลยีและสร้างสรรค์นวัตกรรมจำเป็นต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดความฉลาดรู้ทางวิทยาศาสตร์ การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ตามแนวคิดสะเต็มศึกษาที่สามารถพัฒนาความฉลาดรู้ทางวิทยาศาสตร์และเจตคติต่อวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 2) เปรียบเทียบความฉลาดรู้ทางวิทยาศาสตร์ก่อนและหลังจัดการเรียนรู้ และ3) เปรียบเทียบเจตคติต่อวิทยาศาสตร์ก่อนและหลังจัดการเรียนรู้ กลุ่มเป้าหมายคือนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 จำนวน 13 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) เครื่องมือในการจัดการเรียนรู้ ได้แก่ 1.1 คู่มือประกอบการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา 1.2 แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 2) เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล 2.1 แบบวัดความฉลาดรู้ทางวิทยาศาสตร์ 2.2 แบบประเมินเจตคติต่อวิทยาศาสตร์ และ 2.3 แบบบันทึกภาคสนาม สถิติที่ใช้ การวิเคราะห์ข้อมูลประกอบด้วย ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย (\bar{x}) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ทดสอบค่าทีด้วยสถิติ Dependent Samples t-test และวิเคราะห์เชิงเนื้อหา (Content Analysis) ผลการวิจัยพบว่า 1) รูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ตามแนวคิดสะเต็มศึกษาประกอบด้วย 6 องค์ประกอบ คือ 1. หลักการ 2. วัตถุประสงค์ 3. สาระการเรียนรู้ 4. กระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ประกอบด้วย 7 ขั้นตอน คือ 1) ขั้นระบุปัญหา 2) ขั้นรวบรวมข้อมูลและค้นหาแนวคิด 3) ขั้นออกแบบวิธีการแก้ปัญหา 4) ขั้นวางแผนและดำเนินการแก้ปัญหา 5) ขั้นทดสอบ ประเมินผล และปรับปรุง 6) ขั้นนำเสนอและสะท้อนผล และ 7) ขั้นตกผลึกแนวคิด 5. สื่อและแหล่งเรียนรู้ และ 6. การวัดและประเมินผล โดยมีผลการประเมินตามมาตรฐาน The Joint Committee on Standards of Educational Evaluation ใน 4 มาตรฐาน พบว่า ภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับ ดีมาก 2) ความฉลาดรู้ทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ 3) เจตคติต่อวิทยาศาสตร์ของนักเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ซึ่งสรุปผลได้ว่ารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ตามแนวคิดสะเต็มศึกษาสามารถพัฒนาความฉลาดรู้ทางวิทยาศาสตร์และเจตคติต่อวิทยาศาสตร์ของนักเรียนให้สูงขึ้นได้ อีกทั้งผู้เรียนมีการแสดงให้เห็นถึงสมรรถนะทางวิทยาศาสตร์ที่มีการพัฒนาขึ้นและมีการสะท้อนผลที่แสดงให้เห็นถึงความสนใจในวิทยาศาสตร์ 2024-06-04T09:03:31Z 2024-06-04T09:03:31Z 2023 Thesis http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19432 th Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ application/pdf มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์