การใช้ Bacillus spp. ร่วมกับแมกนีเซียม เพื่อควบคุมโรครากขาว (Rigidoporus microporus) ของยางพารา
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการทรัพยากรดิน), 2566
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
2024
|
Subjects: | |
Online Access: | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19433 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Prince of Songkhla University |
Language: | Thai |
id |
th-psu.2016-19433 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Prince of Songkhla University |
building |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
collection |
PSU Knowledge Bank |
language |
Thai |
topic |
Bacillus subtilis Rigidoporus microporus แมกนีเซียม การควบคุมโรคโดยชีววิธี |
spellingShingle |
Bacillus subtilis Rigidoporus microporus แมกนีเซียม การควบคุมโรคโดยชีววิธี จุฑามาศ สังข์ทอง การใช้ Bacillus spp. ร่วมกับแมกนีเซียม เพื่อควบคุมโรครากขาว (Rigidoporus microporus) ของยางพารา |
description |
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการทรัพยากรดิน), 2566 |
author2 |
อัจฉรา เพ็งหนู |
author_facet |
อัจฉรา เพ็งหนู จุฑามาศ สังข์ทอง |
format |
Theses and Dissertations |
author |
จุฑามาศ สังข์ทอง |
author_sort |
จุฑามาศ สังข์ทอง |
title |
การใช้ Bacillus spp. ร่วมกับแมกนีเซียม เพื่อควบคุมโรครากขาว (Rigidoporus microporus) ของยางพารา |
title_short |
การใช้ Bacillus spp. ร่วมกับแมกนีเซียม เพื่อควบคุมโรครากขาว (Rigidoporus microporus) ของยางพารา |
title_full |
การใช้ Bacillus spp. ร่วมกับแมกนีเซียม เพื่อควบคุมโรครากขาว (Rigidoporus microporus) ของยางพารา |
title_fullStr |
การใช้ Bacillus spp. ร่วมกับแมกนีเซียม เพื่อควบคุมโรครากขาว (Rigidoporus microporus) ของยางพารา |
title_full_unstemmed |
การใช้ Bacillus spp. ร่วมกับแมกนีเซียม เพื่อควบคุมโรครากขาว (Rigidoporus microporus) ของยางพารา |
title_sort |
การใช้ bacillus spp. ร่วมกับแมกนีเซียม เพื่อควบคุมโรครากขาว (rigidoporus microporus) ของยางพารา |
publisher |
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |
publishDate |
2024 |
url |
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19433 |
_version_ |
1802995670215294976 |
spelling |
th-psu.2016-194332024-06-04T09:13:00Z การใช้ Bacillus spp. ร่วมกับแมกนีเซียม เพื่อควบคุมโรครากขาว (Rigidoporus microporus) ของยางพารา Utilization of Bacillus spp. with Magnesium for Controlling White Root Rot Disease (Rigidoporus microporus) of Para Rubber จุฑามาศ สังข์ทอง อัจฉรา เพ็งหนู Faculty of Natural Resources (Earth Science) คณะทรัพยากรธรรมชาติ ภาควิชาธรณีศาสตร์ Bacillus subtilis Rigidoporus microporus แมกนีเซียม การควบคุมโรคโดยชีววิธี วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการทรัพยากรดิน), 2566 Currently, exchangeable magnesium status in rubber (Hevea brasiliensis) planting area in the southern of Thailand is mostly below the optimum range at 0.3 cmolc kg-1. Insufficient magnesium affects the growth of rubber trees and makes them sensitive to white root rot disease caused by the fungus Rigidoporus microporus. However, using Bacillus spp. as a bio-control agent was the effective method. This research aimed to study the effect of magnesium with bacteria B. subtilis strain SM1 on R. microporus strain NK6 inhibition. The experimental result showed that B. subtilis strain SM1 can grow on Potato Dextrose Agar (PDA) supplemented with magnesium in the form of Kieserite added in 4 levels at 0, 0.10, 0.30, and 0.50 cmolcL-1. It was noticedthat B. subtilis strain SM1 was able to grow in PDA medium with magnesium added in every level while R. microporus strain NK6 was also able to grow in PDA medium with magnesium added. However, R. microporus fungus in PDA medium with magnesium added at 0.3 and 0.5 cmolc L-1, it caused abnormal morphological characteristics of the hyphae compared to the control without magnesium supplementation. Testing three strains of antagonistic bacteria, including B. subtilis strains SM1 and B. subtilis strain LPDD3-2, as well as B. amyloliquefaciens strain PT7, in conjunction with the supplementation of magnesium in the growth medium at concentrations ranging from 0.1 to 0.5 cmolc L-1, using the dual culture method. The experimental results showed that B. subtilis strain SM1, when grown on PDA medium with magnesium added at 0.5 cmolc L-1 was able to inhibit the growth of R. microporus strain NK6 by 75.29%, which was higher compared to other strains of beneficial bacteria. The volatile extracellular metabolite test revealed that B. subtilis strain SM1 with magnesium added at 0.50 cmolc L-1, was able to produce volatile compounds that inhibit the growth of R. microporus strain NK6 by 68.90%. This inhibition was higher than that observed at different concentrations of magnesium. Moreover, B. subtilis strain SM1 also forms heat-tolerant and non-heat-tolerant antagonistic substances that inhibited the growth of R. microporus strain NK6 by more than 50% when combined with magnesium at a concentration of 0.5 cmolc L-1 using the agar well diffusion method and the poisoned food cell method. Moreover, the non-sterile and sterile antagonist’s substance of B. subtilis strain SM1, was able to inhibit the growth of R. microporus strain NK6 by more than 84.44%. As a result, the hyphae of R. microporus strain NK6 appeared abnormal, twisted, and had swollen hyphal tips. When tested in soil, the combination of B. subtilis strain SM1 with magnesium at 0.50 cmolcL-1 was found to effectively inhibit the growth of R. microporus strain NK6 as well. Antagonistic bacteria was able to grow at 2.24 cm from the soil’s height of 10 cm. However, B. subtilis strain SM1 with magnesium added in every level could not resist R. microporus strain NK6 when directly inoculated to the rubber limb branch. The fungus was able to grow and cover the rubber limb and was found to destroy the rubber rod cells in all treatments. The use of B. subtilis strain SM1 in combination with the application of magnesium at a concentration of 0.5 cmolc kg-1has shown an impact on the growth of tap roots and lateral roots of rubber tree at 14 and 28 days after planting. Especially, the treatment of B. subtilis strain SM1 with magnesium added at 0.5 cmolc kg-1, which also reduced the occurrence of white root rot disease caused by R. microporus strain NK6 fungus. The hydroponics experiment result showed that using bio-agent, B. subtilis strain SM1 with magnesium added at 60 mg L-1, has been found to reduce theoccurrence of white root rot disease caused by R. microporus strain NK6 fungus in the stem and roots by 67.67–70.33%. Furthermore, The use of B. subtilis strain SM1 in combination with the application of magnesium at a concentration of 60 mg L-1 have resulted in improved growth of rubber trees, including increased plant height, roots development and increased nutrient accumulation in rubber leaves such as nitrogen, phosphorus, and magnesium. Planting rubber trees in potting soil and application a fertilizer grade 15-15-15 along with using magnesium at a concentration of 0.5 cmolc kg-1 combined with the use of B. subtilis strain SM1 bacteria, can help reduce the occurrence of white root rot disease caused by R. microporus strain NK6 fungus in the above-ground and root parts by 44-95%. The application of 0.50 cmolc kg-1 of magnesium, combined with bacteria B. subtilis strain SM1 also increased growth of the height above the ground, roots development and nutrient accumulation in rubber trees. It’s evident that B. subtilis strain SM1 is an effective bacterium in controlling white root rot disease in rubber trees, both in laboratory and experimental greenhouse conditions. Therefore, B. subtilis strain SM1 should be studied and developed into a bio-agent for convenient application. ในปัจจุบันพบว่าพื้นที่ปลูกยางพาราภาคใต้ในประเทศไทยมีแมกนีเซียมที่แลกเปลี่ยนได้ต่ำ กว่าระดับเหมาะสมที่ความเข้มข้น 0.30 เซนติโมลประจุต่อกิโลกรัม แมกนีเซียมที่ไม่เพียงพอส่งผลต่อ การเจริญเติบโตของยางพาราและทำให้อ่อนแอต่อการเกิดโรครากขาวที่เกิดจากเชื้อรา Rigidoporus microporus การใช้แบคทีเรีย Bacillus spp. เป็นการควบคุมโรคโดยชีววิธีที่มีประสิทธิภาพ จึงได้ ศึกษาผลของแมกนีเซียมร่วมกับแบคทีเรีย B. subtilisสายพันธุ์ SM1 ในการยับยั้งเชื้อรา R. microporus สายพันธุ์ NK6 ผลการศึกษาภายในห้องปฏิบัติการ พบว่า ในอาหาร potato dextrose agar (PDA) ที่ผสมแมกนีเซียมในรูปของคีเซอไรต์ (MgSO47H2O)ความเข้มข้น 4 ระดับ ได้แก่ 0, 0.10, 0.30 และ 0.50 เซนติโมลประจุต่อลิตร แบคทีเรีย B. subtilis สายพันธุ์ SM1 สามารถเจริญได้ในความเข้มข้นทุก ระดับ และเชื้อรา R. microporus สายพันธุ์ NK6 สามารถเจริญได้ในอาหารที่มีแมกนีเซียม แต่พบว่า แมกนีเซียมที่ระดับ 0.3 และ 0.5 เซนติโมลประจุต่อลิตร ทำให้ลักษณะทางสัณฐานวิทยาของเส้นใยมี ลักษณะผิดปกติ เมื่อเปรียบเทียบกับที่ไม่มีแมกนีเซียม (กรรมวิธีควบคุม) การทดสอบเชื้อปฏิปักษ์ จำนวน 3 สายพันธุ์ ได้แก่ B. subtilis สายพันธุ์SM1, B. subtilis สายพันธุ์LPDD3-2 และ B. amyloliquefaciens สายพันธุ์PT7ร่วมกับแมกนีเซียมที่ความเข้มข้น 0.1-0.5 เซนติโมลประจุต่อลิตร โดยวิธีdual culture พบว่าแบคทีเรีย B. subtilis สายพันธุ์ SM1 ร่วมกับแมกนีเซียมที่ความเข้มข้น 0.5 เซนติโมลประจุต่อลิตร สามารถยับยั้งการเจริญของ R. microporus สายพันธุ์ NK6 ได้75.29 เปอร์เซ็นต์สูงกว่าเชื้อปฏิปักษ์สายพันธุ์อื่น ๆ เมื่อทดสอบเชื้อปฏิปักษ์แบคทีเรีย B. subtilis สายพันธุ์ SM1 ร่วมกับแมกนีเซียมที่ความเข้มข้น 0.10, 0.30 และ 0.50 เซนติโมลประจุต่อลิตร โดยวิธีvolatile extracellular metabolite test พบว่าแบคทีเรีย B. subtilis สายพันธุ์ SM1 ร่วมกับแมกนีเซียมที่ ความเข้มข้น 0.5 เซนติโมลประจุต่อลิตร สามารถสร้างสารระเหยออกมายับยั้งการเจริญของเชื้อรา R. microporusสายพันธุ์NK6ได้68.90 เปอร์เซ็นต์สูงกว่าความเข้มข้นของแมกนีเซียมที่ระดับต่าง ๆ นอกจากนี้ยังพบว่าแบคทีเรีย B. subtilis สายพันธุ์ SM1 สามารถสร้างสารปฏิปักษ์ที่ทนและไม่ทน ความร้อนออกมายับยั้งการเจริญของเชื้อรา R. microporusสายพันธุ์NK6 ได้สูงกว่า50 เปอร์เซ็นต์เมื่อ ร่วมกับแมกนีเซียมที่ความเข้มข้น 0.5 เซนติโมลประจุต่อลิตร โดยวิธี agar well diffusion และ เช่นเดียวกันกับวิธีpoisoned food เซลล์ สารปฏิปักษ์ไม่นึ่งและนึ่งของแบคทีเรีย B. subtilisสายพันธุ์SM1 ร่วมกับแมกนีเซียมที่ความเข้มข้น 0.5 เซนติโมลประจุต่อลิตร สามารถยับยั้งการเจริญของ R. microporus สายพันธุ์ NK6 ได้สูงกว่า 84.44 เปอร์เซ็นต์ซึ่งส่งผลให้เส้นใยเชื้อรา R. microporus สายพันธุ์ NK6 ผิดปกติ บิดเบี้ยว และปลายเส้นใยโป่งพอง เมื่อทดสอบในดินผสมแบคทีเรีย B. subtilis สายพันธุ์SM1 ร่วมกับแมกนีเซียมที่ความเข้มข้น 0.5 เซนติโมลประจุต่อลิตร สามารถยับยั้งการเจริญ ของ R. microporus สายพันธุ์ NK6 ได้ดี สามารถเจริญได้ 2.24 เซนติเมตรของความสูงดินที่ 10 เซนติเมตร แต่ในส่วนของชิ้นส่วนพืชแบคทีเรีย B. subtilis สายพันธุ์SM1 ร่วมกับความเข้มข้นของ แมกนีเซียมที่ระดับต่าง ๆ เส้นใยเชื้อรา R. microporus สายพันธุ์ NK6 สามารถเจริญปกคลุมท่อนยาง และพบการเข้าทำลายเซลล์ท่อนยางในทุกกรรมวิธี การใช้แบคทีเรีย B. subtilisสายพันธุ์ SM1 ส่งผลให้การเจริญของรากยางพาราที่ 14 และ 28 วัน มีการเจริญของรากแก้ว และปริมาณของรากฝอยที่หนาแน่น โดยเฉพาะการใช้แบคทีเรีย B. subtilis สายพันธุ์SM1 ร่วมกับแมกนีเซียม 0.5 เซนติโมลประจุต่อกิโลกรัม และยังพบว่าการใช้แบคทีเรีย B. subtilis สายพันธุ์ SM1 ร่วมกับแมกนีเซียม 0.5 เซนติโมลประจุต่อกิโลกรัม สามารถการลดการ เกิดโรครากขาวที่มีสาเหตุจากเชื้อรา R. microporus สายพันธุ์ NK6 การทดสอบด้วยการปลูกระบบไฮโดรโพนิกส์โดยการใส่แมกนีเซียม 60 มิลลิกรัมต่อลิตร ร่วมกับการใช้แบคทีเรีย B. subtilis สายพันธุ์ SM1 สามารถลดการเกิดโรครากขาวที่มีสาเหตุจากเชื้อรา R. microporusสายพันธุ์NK6 ในส่วนของเหนือดินและรากได้ 67.67-70.33 เปอร์เซ็นต์โดยการใส่ แมกนีเซียม 60 มิลลิกรัมต่อลิตร ร่วมกับการใช้แบคทีเรีย B. subtilis สายพันธุ์ SM1 ทำให้การ เจริญเติบโตทางด้านความสูงเหนือดิน ราก และการสะสมธาตุอาหารในใบยางพารา ได้แก่ ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และแมกนีเซียม เพิ่มขึ้น การปลูกต้นยางพาราในดินปลูก เมื่อมีการใส่ปุ๋ยสูตร 15-15-15ร่วมกับแมกนีเซียม 0.5 เซนติโมล ประจุต่อกิโลกรัม และการใช้แบคทีเรีย B. subtilisสายพันธุ์ SM1 สามารถลดการเกิดโรครากขาวที่มี สาเหตุจากเชื้อรา R. microporusสายพันธุ์ NK6 ในส่วนของเหนือดินและรากได้ 44-95 เปอร์เซ็นต์ โดยการใส่แมกนีเซียม 0.5 เซนติโมลประจุต่อกิโลกรัม ร่วมกับการใช้แบคทีเรีย B. subtilis สายพันธุ์ SM1 ทำให้การเจริญเติบโตทางด้านความสูงเหนือดิน ราก และการสะสมธาตุอาหารของต้นยางพารา เพิ่มขึ้น ซึ่งเห็นได้ว่า B. subtilis สายพันธุ์ SM1 เป็นแบคทีเรียที่มีประสิทธิภาพในการควบคุมโรค ราก ขาวได้ดีทั้งในห้องปฏิบัติการและสภาพโรงเรือนทดลอง ดังนั้นจึงควรศึกษาและพัฒนาแบคทีเรีย B. subtilis สายพันธุ์ SM1 ให้อยู่ในรูปแบบชีวภัณฑ์เพื่อให้เกิดความสะดวกต่อการนำไปใช้ 2024-06-04T09:12:04Z 2024-06-04T09:12:04Z 2023 Thesis http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19433 th Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ application/pdf มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |