พฤติกรรมรอยต่อคอนกรีตสมรรถนะสูงเสริมเส้นใยของคานคอนกรีตสำเร็จรูป
วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (วิศวกรรมโยธา), 2566
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
2024
|
Subjects: | |
Online Access: | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19434 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Prince of Songkhla University |
Language: | Thai |
id |
th-psu.2016-19434 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Prince of Songkhla University |
building |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
collection |
PSU Knowledge Bank |
language |
Thai |
topic |
คอนกรีตสมรรถนะสูง การทดสอบแรงดัดแบบสี่จุด เหล็กข้ออ้อย ระยะทาบเหล็ก ปูนซีเมนต์แบบไม่หดตัว Ultra-high performance concrete four-point bending test reinforced steel splice length of reinforcement steel non-shrinking cement |
spellingShingle |
คอนกรีตสมรรถนะสูง การทดสอบแรงดัดแบบสี่จุด เหล็กข้ออ้อย ระยะทาบเหล็ก ปูนซีเมนต์แบบไม่หดตัว Ultra-high performance concrete four-point bending test reinforced steel splice length of reinforcement steel non-shrinking cement นฤสรณ์ ศรีสวัสดิ์ พฤติกรรมรอยต่อคอนกรีตสมรรถนะสูงเสริมเส้นใยของคานคอนกรีตสำเร็จรูป |
description |
วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (วิศวกรรมโยธา), 2566 |
author2 |
วิชัยรัตน์ แก้วเจือ |
author_facet |
วิชัยรัตน์ แก้วเจือ นฤสรณ์ ศรีสวัสดิ์ |
format |
Theses and Dissertations |
author |
นฤสรณ์ ศรีสวัสดิ์ |
author_sort |
นฤสรณ์ ศรีสวัสดิ์ |
title |
พฤติกรรมรอยต่อคอนกรีตสมรรถนะสูงเสริมเส้นใยของคานคอนกรีตสำเร็จรูป |
title_short |
พฤติกรรมรอยต่อคอนกรีตสมรรถนะสูงเสริมเส้นใยของคานคอนกรีตสำเร็จรูป |
title_full |
พฤติกรรมรอยต่อคอนกรีตสมรรถนะสูงเสริมเส้นใยของคานคอนกรีตสำเร็จรูป |
title_fullStr |
พฤติกรรมรอยต่อคอนกรีตสมรรถนะสูงเสริมเส้นใยของคานคอนกรีตสำเร็จรูป |
title_full_unstemmed |
พฤติกรรมรอยต่อคอนกรีตสมรรถนะสูงเสริมเส้นใยของคานคอนกรีตสำเร็จรูป |
title_sort |
พฤติกรรมรอยต่อคอนกรีตสมรรถนะสูงเสริมเส้นใยของคานคอนกรีตสำเร็จรูป |
publisher |
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |
publishDate |
2024 |
url |
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19434 |
_version_ |
1802995670395650048 |
spelling |
th-psu.2016-194342024-06-05T02:19:01Z พฤติกรรมรอยต่อคอนกรีตสมรรถนะสูงเสริมเส้นใยของคานคอนกรีตสำเร็จรูป Ultra-High Performance Fiber Concrete Joint Behavior of Precast Concrete Beam นฤสรณ์ ศรีสวัสดิ์ วิชัยรัตน์ แก้วเจือ Faculty of Engineering Civil Engineering คณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คอนกรีตสมรรถนะสูง การทดสอบแรงดัดแบบสี่จุด เหล็กข้ออ้อย ระยะทาบเหล็ก ปูนซีเมนต์แบบไม่หดตัว Ultra-high performance concrete four-point bending test reinforced steel splice length of reinforcement steel non-shrinking cement วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (วิศวกรรมโยธา), 2566 Currently, precast concrete structures are gaining popularity in large-scale construction projects, such as staircases, floor slabs, beams, columns and walls. The most critical part of using precast components is the strength of the connections between these components, such as the connections between column and beam or beam and beam. Ensuring the quality of these connections is challenging because there are many external factors to control. Therefore, it is seen that the connections between beam and beam can be made by using reinforced steel bars like traditional steel connections. High-performance concrete is used instead of ordinary concrete in the gap. The strength of high-performance concrete is approximately 100-160 MPa, which is significantly higher than regular concrete. Thus, this research studies the behavior of connections between beam and beam with high-strength concrete, where reinforced steel bar is connected by traditional steel connections and the connection points of concrete are made with high-strength concrete and non-shrinking cement. The tests are conducted in a 4-point bending configuration with the objective of evaluating the performance of the connections in transmitting forces between the beams and observing critical failure phenomena of the connection. The tested beams have dimensions of 150 mm in width, 150 mm in height, and 700 mm in length. The concrete is designed with a standard cylinder compressive strength of 32 MPa at 28 days, and the steel reinforcement has a diameter of 12 mm with a quality grade of SD40. The depths of high-strength concrete are divided into three levels i.e. 50 mm, 75 mm and 100 mm. A total of 30 samples are prepared and tested under the specified variables in sets of three samples. The testing data is recorded deformation patterns, crack propagation, and response to loads. The results shown that the splice length of 9 times the diameter of the reinforcement steel and a depth of 100 mm of high-strength concrete can support the highest load, although it is still less than a beam without a connection. ในปัจจุบันมีการใช้โครงสร้างคอนกรีตสำเร็จรูปในงานก่อสร้างขนาดใหญ่มากขึ้นเช่น บันได แผ่นพื้น คาน เสา และผนัง การใช้ชิ้นส่วนสำเร็จรูปส่วนที่ต้องระวังมากสำคัญที่สุด คือ จุดเชื่อมต่อของชิ้นส่วนในแต่ละชิ้นจะต้องมีความแข็งแรงที่เพียงพอในการเชื่อมต่อ เช่น จุดต่อของเสาและคาน จุดต่อระหว่างคานกับคาน ก็จะใช้การต่อเหล็กเสริมกำลังและใช้คอนกรีตปิดรอยต่อนั้น ๆ การควบคุมคุณภาพของจุดต่อนั้นกระทำได้ยากมาก เพราะมีเหตุปัจจัยภายนอกมากมายเกินการควบคุม ดังนั้นจึงเห็นว่า จุดต่อระหว่างคานกับคานสามารถต่อโดยการใช้เหล็กเสริมทาบกันเหมือนกับการทาบต่อเหล็กปกติแต่ในส่วนช่องว่างนั้นใช้วิธีการต่อด้วยคอนกรีตสมรรถนะสูงมาใช้แทนการต่อด้วยคุณกรีตธรรมดา กำลังของคอนกรีตสมรรถนะสูงนั้นมีค่าประมาณ 100-160 เมกะปาสคาล ซึ่งสูงกว่าคอนกรีตทั่วไปมาก ดังนั้นงานวิจัยนี้จึง ศึกษาพฤติกรรมของจุดต่อระหว่างคาน และคานคอนกรีตเสริมเหล็ก โดยเหล็กเสริมกำลังต่อด้วยการทาบแบบทั่วไป และจุดต่อของคอนกรีตจะเชื่อมต่อด้วยคอนกรีตสมรรถนะสูง และปูนซีเมนต์แบบไม่หดตัว โดยทำการทดสอบแรงดัดแบบ 4 จุด มีวัตถุประสงค์เพื่อ ประเมินสมรรถนะของการเชื่อมต่อในการถ่ายเทแรงในคานและสังเกตการณ์บริเวณวิกฤตของรอย เชื่อมต่อ ตัวอย่างคานที่ใช้ทดสอบมี ความกว้าง 150 มิลลิเมตร ความสูง 150 มิลลิเมตร และความยาว 700 มิลลิเมตร คอนกรีตกำลังอัดออกแบบรูปทรงกระบอกมาตรฐานบ่มด้วยอากาศที่ 28 วัน มีค่าเท่ากับ 32 เมกะปาสคาลใช้เหล็กข้ออ้อยรับแรงดึงมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 12 มิลลิเมตร ชั้น คุณภาพ SD40 ตัวแปรที่ใช้ในการทดสอบ คือ ระยะทาบของเหล็กเสริมกำลังในช่วงกลางคาน โดยใช้ระยะทาบของเหล็กเท่ากับ 3 เท่า, 6 เท่า และ 9 เท่าของขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเหล็ก และอัตราส่วนความลึกระหว่างคอนกรีตสมรรถนะสูงกับปูนซีเมนต์แบบไม่หดตัว โดยความลึกของคอนกรีตสมรรถนะสูงจะมี 3 ระดับ คือ 50 มิลลิเมตร, 75 มิลลิเมตร และ 100 มิลลิเมตร ของความลึกคาน โดยทำการเตรียมตัวอย่าง ทั้งหมด 30 ตัวอย่าง และทดสอบภายใต้ตัวแปรที่กำหนดแบบละ 3 ตัวอย่าง ทำการบันทึกรูปแบบการวิบัติ การแตกร้าว และการตอบสนองต่อแรง ผลการศึกษาระยะทาบที่ 9 เท่าของเส้นผ่านศูนย์กลางเหล็กเสริม และความลึกของคอนกรีตสมรรถนะสูงเท่ากับ 100 มิลลิเมตร สามารถรับน้ำหนักได้มากที่สุด แต่ก็ยังน้อยกว่าคานที่ไม่มีการเชื่อมต่อ 2024-06-05T02:19:01Z 2024-06-05T02:19:01Z 2023 Thesis http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19434 th Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ application/pdf มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |