ปัจจัยที่มีผลต่อการยอมรับการใช้เชื้อราไตรโคเดอร์มาของเกษตรกรในจังหวัดตรัง

วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (พัฒนาการเกษตร), 2566

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: จอมทอง ชัยภักดี
Other Authors: กอบชัย วรพิมพงษ์
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 2024
Subjects:
Online Access:http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19441
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Prince of Songkhla University
Language: Thai
id th-psu.2016-19441
record_format dspace
institution Prince of Songkhla University
building Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
collection PSU Knowledge Bank
language Thai
topic เชื้อราไตรโคเดอร์มา
ความรู้
ทัศนคติ
เกษตรกร
การยอมรับ
spellingShingle เชื้อราไตรโคเดอร์มา
ความรู้
ทัศนคติ
เกษตรกร
การยอมรับ
จอมทอง ชัยภักดี
ปัจจัยที่มีผลต่อการยอมรับการใช้เชื้อราไตรโคเดอร์มาของเกษตรกรในจังหวัดตรัง
description วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (พัฒนาการเกษตร), 2566
author2 กอบชัย วรพิมพงษ์
author_facet กอบชัย วรพิมพงษ์
จอมทอง ชัยภักดี
format Theses and Dissertations
author จอมทอง ชัยภักดี
author_sort จอมทอง ชัยภักดี
title ปัจจัยที่มีผลต่อการยอมรับการใช้เชื้อราไตรโคเดอร์มาของเกษตรกรในจังหวัดตรัง
title_short ปัจจัยที่มีผลต่อการยอมรับการใช้เชื้อราไตรโคเดอร์มาของเกษตรกรในจังหวัดตรัง
title_full ปัจจัยที่มีผลต่อการยอมรับการใช้เชื้อราไตรโคเดอร์มาของเกษตรกรในจังหวัดตรัง
title_fullStr ปัจจัยที่มีผลต่อการยอมรับการใช้เชื้อราไตรโคเดอร์มาของเกษตรกรในจังหวัดตรัง
title_full_unstemmed ปัจจัยที่มีผลต่อการยอมรับการใช้เชื้อราไตรโคเดอร์มาของเกษตรกรในจังหวัดตรัง
title_sort ปัจจัยที่มีผลต่อการยอมรับการใช้เชื้อราไตรโคเดอร์มาของเกษตรกรในจังหวัดตรัง
publisher มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
publishDate 2024
url http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19441
_version_ 1802995671777673216
spelling th-psu.2016-194412024-06-06T04:02:50Z ปัจจัยที่มีผลต่อการยอมรับการใช้เชื้อราไตรโคเดอร์มาของเกษตรกรในจังหวัดตรัง Factors Affecting Adoption of Trichoderma Usage Among Farmers in Trang Province จอมทอง ชัยภักดี กอบชัย วรพิมพงษ์ Faculty of Natural Resources (Agricultural Development) คณะทรัพยากรธรรมชาติ ภาควิชาพัฒนาการเกษตร เชื้อราไตรโคเดอร์มา ความรู้ ทัศนคติ เกษตรกร การยอมรับ วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (พัฒนาการเกษตร), 2566 This study aimed to 1) study farmers' personal social and economic factors, 2) farmers' knowledge and attitudes toward Trichoderma usage, and 3) Trichoderma adoption and factors relating with Trichoderma adoption among farmers in Trang province. The study sample were 280 farmers who have trained in Trichoderma producing workshop which held by Center of agricultural products optimization project year 2019 in Trang province. Structured interview schedule was used as a research tool. The structured interview schedule had the Index of item-objective congruence or IOC value at 0.97. Moreover, the structured interview schedule had reliability value in section farmers’ knowledge toward Trichoderma usage by using KR-20 method at 0.76, and had reliability value in section farmers’ attitude toward Trichoderma and farmers’ adoption of Trichoderma usage by using Cronbach’s alpha coefficient calculation at 0.70 and 0.89 respectively. Data analysis consist of frequency, percentage, mean, and standard deviation. Furthermore, Chi-square test and Pearson correlation analysis were used to explore relationships between farmer’s factors and Trichoderma usage adoption. The results showed that most of the farmers were female with average age 52.10±9.23 years and graduated in primary school. Average family member were 3.10±1.26 people and 2.08±0.71 people were agricultural workers. Most of them did not hold social positions in the community. However, more than half of farmers were member in some organizations. Farmers had 18.36±9.65 years in average farming experience, held average farming area 9.65±7.15 rai most of the area grow vegetables. Yearly average production cost was 8,116.50±5,024.54 baht/rai/year, mostly came from farmer self-funded. Farmers earned average income from agriculture 119,944.25±110,862.80 baht/year. Farmers contacted agricultural extension officer in averaged 5.60±5.22 times/year. Trichoderma was used in an average area of 2.34±2.25 rai/farmer. Farmers had knowledge of Trichoderma at high level with average score 10.89±1.94 out of 15. Farmers had highest score in topic: Trichoderma producing process, meanwhile, they had lowest score in topic: storage procedure for Trichoderma. Farmers' attitude towards Trichoderma usage was at high level with average score of 3.67±0.68 out of 5. Most of the farmers (78.93%) had attitude towards Trichoderma usage at high level and there was no farmer has attitude towards Trichoderma usage below medium level. Farmers' adoption of Trichoderma usage was at the routine practice level with average score 1.87±0.33 out of 3. Almost every farmer (96.79%) had adoption of Trichoderma usage at the routine practice level and there was no farmer has adoption of Trichoderma usage at not practice level. Statistical analysis showed that factors which statistically related (p≤0.05) with farmers' adoption of Trichoderma usage in Trang province were agricultural type (X2 = 7.389, Exact Sig. = 0.027) and farming experience (r = 0.140, p-value = 0.019). The study suggested that should emphasize the topic: Trichoderma storage procedure in the future workshop due to the result have showed that farmers had lowest knowledge in this topic. Finally, should conduct in depth study in experienced farmers to understand and get lesson-learned regarding Trichoderma adoption because the study found that farming experience related with adoption level in order to develop the workshop contents to increase efficiency of promoting Trichoderma usage among farmers in the future. การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ปัจจัยส่วนบุคคลด้านสังคมและเศรษฐกิจของเกษตรกร 2) ความรู้และทัศนคติเกี่ยวกับการใช้เชื้อราไตรโคเดอร์มาของเกษตรกร 3) การยอมรับและปัจจัยที่มีผลต่อการยอมรับในการใช้เชื้อราไตรโคเดอร์มาของเกษตรกรในจังหวัดตรัง กลุ่มตัวอย่าง คือ เกษตรกรผู้ผ่านกระบวนการเรียนรู้การผลิตเชื้อราไตรโคเดอร์มา ตามโครงการศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร ประจำปี 2562 ของจังหวัดตรัง จำนวน 280 คน เครื่องมือการศึกษาวิจัย คือ แบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้างที่มีดัชนีความสอดคล้อง (IOC) ที่ 0.97 ค่าความเชื่อมั่น (Reliability) ของแบบทดสอบความรู้เกี่ยวกับเชื้อราไตรโคเดอร์มา ด้วยวิธี KR-20 ที่ 0.76 ค่าความเชื่อมั่น (Reliability) ของแบบสัมภาษณ์ทัศนคติของเกษตรกรเกี่ยวกับเชื้อราไตรโคเดอร์มาและการยอมรับการใช้เชื้อราไตรโคเดอร์มาของเกษตรกรด้วยวิธีการหาค่าสัมประสิทธิ์ความเชื่อมั่นของ Cronbach ได้ค่าสัมประสิทธิ์ความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.70 และ 0.89 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการยอมรับในการใช้เชื้อราไตรโคเดอร์มาด้วยสถิติไคสแควร์ (Chi-square) และสหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน (Pearson correlation) ผลการศึกษาพบว่า เกษตรกรส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุเฉลี่ย 52.10±9.23 ปี จบการศึกษาในระดับประถมศึกษา มีจำนวนสมาชิกและแรงงานภาคการเกษตรในครัวเรือนเฉลี่ย 3.10±1.26 และ 2.08±0.71 คน ตามลำดับ ส่วนใหญ่ไม่ได้ดำรงตำแหน่งทางสังคมในชุมชน แต่มากกว่าครึ่งเป็นสมาชิกของกลุ่มองค์กร เกษตรกรมีประสบการณ์ในการทำเกษตรเฉลี่ย 18.36±9.65 ปี พื้นที่ทำการเกษตรเฉลี่ย 9.65±7.15 ไร่ ส่วนใหญ่ปลูกพืชผัก มีต้นทุนการผลิตเฉลี่ย 8,116.50±5,024.54 บาท/ไร่/ปี แหล่งเงินทุนส่วนใหญ่เป็นเงินทุนของตนเอง มีรายได้จากภาคการเกษตรเฉลี่ย 119,944.25±110,862.80 บาท/ปี เกษตรกรติดต่อกับเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรเฉลี่ย 5.60±5.22 ครั้ง/ปี มีพื้นที่ที่มีการใช้เชื้อราไตรโคเดอร์มาเฉลี่ย 2.34±2.25 ไร่/คน เกษตรกรมีความรู้เกี่ยวกับเชื้อราไตรโคเดอร์มาในระดับสูงซึ่งมีคะแนนเฉลี่ย 10.89±1.94 คะแนน จาก 15 คะแนน โดยเกษตรกรได้คะแนนเกี่ยวกับขั้นตอนการผลิตเชื้อราไตรโคเดอร์มามากที่สุด ในขณะที่ขั้นตอนการเก็บรักษาเชื้อราไตรโคเดอร์มาเกษตรกรได้คะแนนน้อยที่สุด ทัศนคติของเกษตรกรต่อการใช้เชื้อราไตรโคเดอร์มาอยู่ในระดับมาก คะแนนเฉลี่ย 3.67±0.68 คะแนน จาก 5 คะแนน โดยที่เกษตรกรส่วนใหญ่ (ร้อยละ 78.93) มีทัศนคติต่อการใช้เชื้อราไตรโคเดอร์มาอยู่ในระดับมากและไม่มีเกษตรกรที่มีระดับทัศนคติต่อการใช้เชื้อราไตรโคเดอร์มาต่ำกว่าระดับปานกลาง การยอมรับการใช้เชื้อราไตรโคเดอร์มาของเกษตรกรอยู่ในระดับนำไปปฏิบัติประจำ คะแนนเฉลี่ย 1.87±0.33 คะแนน จาก 3 คะแนน โดยที่เกษตรกรเกือบทั้งหมด (ร้อยละ 96.79) มีการยอมรับการใช้เชื้อราไตรโคเดอร์มาอยู่ในระดับนำไปปฏิบัติเป็นประจำและไม่พบเกษตรกรที่มีการยอมรับการใช้เชื้อราไตรโคเดอร์มาในระดับไม่นำไปปฏิบัติ การวิเคราะห์สถิติพบว่าปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการยอมรับการใช้เชื้อราไตรโคเดอร์มาของเกษตรกรในจังหวัดตรังอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p≤0.05) ได้แก่ ประเภทการทำการเกษตร (X2 = 7.389, Exact Sig. = 0.027) และ ประสบการณ์ในการทำเกษตร (r=0.140, p-value = 0.019) ข้อเสนอแนะจากผลการศึกษาครั้งนี้ เสนอให้ควรมีการปรับปรุงเนื้อหาการฝึกอบรมในอนาคต โดยเน้นเนื้อหาในขั้นตอนการเก็บเชื้อราไตรโคเดอร์มา เนื่องจากผลการศึกษาพบว่า เกษตรกรมีความรู้ในขั้นตอนนี้ต่ำที่สุด และควรมีการศึกษาเพิ่มเติมในการทำความเข้าใจและถอดบทเรียนเกษตรกรที่มีประสบการณ์ในการทำการเกษตร เนื่องจากการศึกษาพบว่าประสบการณ์ในการทำการเกษตรมีความสัมพันธ์กับการยอมรับการใช้เชื้อราไตรโคเดอร์มา เพื่อเป็นข้อมูลในการปรับปรุงเนื้อหาการฝึกอบรม ซึ่งจะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการส่งเสริมและเผยแพร่การใช้เชื้อราไตรโคเดอร์มาให้เกษตรกรในอนาคตต่อไป 2024-06-06T04:02:50Z 2024-06-06T04:02:50Z 2023 Thesis http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19441 th Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ application/pdf มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์