แนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตมุสลิมของมัสยิดในจังหวัดสตูล
ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (อิสลามศึกษา), 2566
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
2024
|
Subjects: | |
Online Access: | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19443 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Prince of Songkhla University |
Language: | Thai |
id |
th-psu.2016-19443 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Prince of Songkhla University |
building |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
collection |
PSU Knowledge Bank |
language |
Thai |
topic |
คุณภาพชีวิต วิถีมุสลิม |
spellingShingle |
คุณภาพชีวิต วิถีมุสลิม ทนงศักดิ์ หมาดทิ้ง แนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตมุสลิมของมัสยิดในจังหวัดสตูล |
description |
ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (อิสลามศึกษา), 2566 |
author2 |
อีสมาแอ กาเต๊ะ |
author_facet |
อีสมาแอ กาเต๊ะ ทนงศักดิ์ หมาดทิ้ง |
format |
Theses and Dissertations |
author |
ทนงศักดิ์ หมาดทิ้ง |
author_sort |
ทนงศักดิ์ หมาดทิ้ง |
title |
แนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตมุสลิมของมัสยิดในจังหวัดสตูล |
title_short |
แนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตมุสลิมของมัสยิดในจังหวัดสตูล |
title_full |
แนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตมุสลิมของมัสยิดในจังหวัดสตูล |
title_fullStr |
แนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตมุสลิมของมัสยิดในจังหวัดสตูล |
title_full_unstemmed |
แนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตมุสลิมของมัสยิดในจังหวัดสตูล |
title_sort |
แนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตมุสลิมของมัสยิดในจังหวัดสตูล |
publisher |
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |
publishDate |
2024 |
url |
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19443 |
_version_ |
1802995672264212480 |
spelling |
th-psu.2016-194432024-06-06T04:20:03Z แนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตมุสลิมของมัสยิดในจังหวัดสตูล Way of Masjids in Developing Life Quality of Muslims in Satun Province. ทนงศักดิ์ หมาดทิ้ง อีสมาแอ กาเต๊ะ Faculty of Islamic Sciences คณะวิทยาการอิสลาม คุณภาพชีวิต วิถีมุสลิม ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (อิสลามศึกษา), 2566 The research on ways of Masjids in developing life quality of Muslims in Satun Province aims : 1) to study the meaning, characteristics and ways of developing life quality in Islam; 2) to study about Muslims and Masjids in Islam, including the history of Muslims and Masjids in Satun Province; 3) to study the problems and ways of Masjids to develop the Muslims' life quality in Satun Province in Islam that corresponds with the current and future social context. As for the research methodology, this research is a qualitative research which uses a descriptive analysis and presentation of data by collecting documentary data from the Qur'an, Hadiths, and the views of Muslim scholars including textbooks and related researches and individual in-depth interviews for the key informants to collect overall data from the interview. They are; the chairman of the Satun Provincial Islamic Committee, 1 vice chairman of the Satun Provincial Islamic Committee, 1 academic staff of the Office of the Islamic Committee, 2 Satun Provincial Islamic Committeemen, 7 Imams, 7 Khatebs 7, 7 Bilals, and 7 Muslim community leaders from the 7 districts of Satun (only mosques registered with the government) selected by using a specific method. The study found that: 1) Good life quality in Islam consists of subsistence by seeking sustenance approved by religion, being satisfied with what one has, living a life of believer in Allah, the Almighty with devotion to Him, and bliss and happiness of living in the paradise of Allah on the day of retribution. 2) The life quality of Muslims in Satun Province still needs development in various aspects such as maintaining life based on Islamic way, family, occupation, social life and health, etc. 3) Masjid are an organization that plays a crucial role in Muslim society in driving and developing the life quality of Muslims in their area. It is the center of the faith of all Muslims. The life of a Muslim is bound to Masjid from birth until the end of life. 4) Problems affecting the development of the life quality of Muslims in the area are the problems of violating religious provisions, drug problems, poverty problems, unemployment problems, the problems of quarrels among youths, divorce problems, and religious education problems. 5) Ways of Masjids in developing life quality of Muslims in Satun Province in Islam that corresponds with the current and future social context are of 7 aspects as follows: 1) Knowledge, namely Masjids should have a library or create their own online library program of Masjid through various media on websites, prepare electronic books, including training in teaching within Masjid in a variety of systems, having a live broadcast, creating a page of Masjid recording a video of teaching for future use, and has a comprehensive public relations media for Muslims in the area; 2) Life and well-being, Masjids should give sermons, admonish and point out the principles of Islamic lifestyle; 3) Occupationally, Masjids should encourage and advise people in the area to be aware and diligent in their careers and to seek cooperation from relevant agencies for training and training in vocational skills; 4) Religious practice, Masjids should adopt the approach of inviting through words with Friday Khutbah presentation, and invite through various online systems; 5) Environment and health, Masjids should promote environmental conservation, Promote the replacement of resources, promote the use of land, promote cleanliness, and promote health and healing; 6) Masjids should have projects or activities to promote family love, select a model family to be a role model for people in the area. 7. Masjids should encourage people in society to have faith and correct practice, establish a Zakat fund to help the poor, campaign against drugs and prohibited substances of all kinds, support and promote good people to be leaders in society and encourage people in the society to have love and unity in the midst of a multicultural society to develop Muslims’ life quality effectively. การศึกษาวิจัยเรื่อง แนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตมุสลิมของมัสยิดในจังหวัดสตูล มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1. เพื่อศึกษาความหมาย ลักษณะ และแนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตในอิสลาม 2. เพื่อศึกษาเกี่ยวกับมุสลิมและมัสยิดในอิสลาม รวมถึงความเป็นมาของมุสลิมและมัสยิดในจังหวัด สตูล 3. เพื่อศึกษาสภาพปัญหาและแนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตมุสลิมของมัสยิดในจังหวัดสตูล ตามทัศนะอิสลามที่สอดคล้องกับบริบทสังคมปัจจุบันและอนาคต สําหรับวิธีการดําเนินการวิจัย การวิจัยในครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ซึ่งใช้กระบวนการวิเคราะห์และการนําเสนอข้อมูลแบบเชิงพรรณนาวิเคราะห์ โดยวิธีการเก็บ รวบรวมข้อมูลเอกสารจาก อัลกุรอาน อัลหะดีษ และทรรศนะของนักปราชญ์มุสลิม รวมถึงตํารา และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และแบบสัมภาษณ์เชิงลึกรายบุคคลผู้ให้ข้อมูลหลักเพื่อใช้เฉพาะในการเก็บ ข้อมูลโดยรวมจากการสัมภาษณ์ ได้แก่ ประธานคณะกรรมการอิสลามประจําจังหวัดสตูล 1 คน รอง ประธานคณะกรรมการอิสลามประจําจังหวัดสตูล 1 คน ฝ่ายวิชาการของสํานักงานคณะกรรมการ อิสลามประจําจังหวัดสตูล 1 คน คณะกรรมการอิสลามประจําจังหวัดสตูล 2 คน อิมาม 7 คน คอเต็บ 7 คน บิลาล 7 คน และผู้นําชุมชนมุสลิมในพื้นที่จังหวัดสตูลทั้ง 7 อําเภอ (เฉพาะมัสยิดที่จดทะเบียน กับทางราชการเท่านั้น) 7 ท่าน ซึ่งคัดเลือกโดยใช้วิธีการเจาะจง ผลการวิจัยพบว่า 1. คุณภาพชีวิตที่ดีในอิสลามนั้นประกอบด้วย การดํารงชีวิตโดยการแสวงหาปัจจัย ยังชีพที่ศาสนาอนุมัติ การมีความพึงพอใจในสิ่งที่ตนมีอยู่ การดํารงชีวิต โดยเป็นผู้ศรัทธาต่อ อัลลอฮฺ “ พร้อมด้วยการปฏิบัติภักดีต่อพระองค์ การได้รับความสุขต่างๆ และ การมีชีวิตอยู่ใน สวรรค์ของอัลลอฮฺ 5, ในวันแห่งการตอบแทน 2. การดําเนินชีวิตของมุสลิมในพื้นที่จังหวัดสตูลจําเป็นต้องพัฒนาคุณภาพชีวิต หลายด้าน เช่น ด้านการดําเนินชีวิตตามวิถีอิสลาม ด้านครอบครัว ด้านการประกอบอาชีพ ด้าน สังคม และด้านสุขภาพ เป็นต้น 3. มัสยิดถือเป็นองค์กรที่มีบทบาทต่อสังคมมุสลิมในการขับเคลื่อนและพัฒนา คุณภาพชีวิตของมุสลิมในพื้นที่ เป็นศูนย์รวมศรัทธาของมุสลิมทั้งหลาย ซึ่งการดําเนินชีวิตของ มุสลิมนั้นย่อมมีความผูกพันกับมัสยิดตั้งแต่เกิดจนถึงวาระสุดท้ายของชีวิต 4. ปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตของมุสลิมในพื้นที่ ได้แก่ ปัญหาการฝ่าฝืนบทบัญญัติทางศาสนา ปัญหายาเสพติด ปัญหาความยากจน ปัญหาคนว่างงาน ปัญหาการทะเลาะวิวาทของเยาวชน ปัญหาการหย่าร้าง และปัญหาการศึกษาทางด้านศาสนา 5. แนวการพัฒนาคุณภาพชีวิตมุสลิมของมัสยิดในจังหวัดสตูล ตามทัศนะอิสลาม ที่สอดคล้องกับบริบทสังคมปัจจุบันและอนาคตควรพัฒนา 7 ด้านคือ 1) ด้านความรู้มัสยิดควรมี ห้องสมุด หรือสร้างโปรแกรมห้องสมุดออนไลน์ของทางมัสยิดเองผ่านสื่อต่างๆทางเว็บไซต์ จัดทํา หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ รวมถึงมีการอบรมจัดการเรียนการสอนภายในมัสยิดในระบบที่หลากหลาย มีการไลฟ์สด สร้างเพจของมัสยิดบันทึกวีดีโอการจัดการเรียนการสอนเผยแพร่ย้อนหลัง และมีสื่อ ประชาสัมพันธ์แบบครบวงจรแก่มุสลิมในพื้นที่ 2) ด้านการใช้ชีวิตและความเป็นอยู่มัสยิดควรให้ โอวาท ตักเตือน และชี้แจ้งถึงหลักการดําเนินชีวิตตามแนวทางของอิสลาม 3) ด้านการประกอบ อาชีพ มัสยิดควรส่งเสริมแนะนําให้คนในพื้นที่มีความตระหนักและขยันในการประกอบอาชีพและประสานขอความร่วมมือจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้เข้าอบรมฝึกทักษะวิชาชีพ 4) ด้านการ ประกอบศาสนกิจ มัสยิดควรนําแนวทางการเชิญชวนผ่านคําพูด การนําเสนอคุตบะฮฺวันศุกร์ และ เชิญชวนผ่านระบบออนไลน์ต่างๆ 5) ด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาวะ มัสยิดควรส่งเสริมให้มีการ อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ส่งเสริมให้มีการทดแทนทรัพยากร ส่งเสริมให้มีการใช้ประโยชน์จากที่ดิน ส่งเสริมให้มีการรักษาความสะอาด และส่งเสริมให้มีการรักษาสุขภาพอนามัยและการเยียวยา 6) มัสยิดควรมีโครงการหรือจัดกิจกรรมส่งเสริมการสร้างความรักภายในครอบครัว คัดเลือกครอบครัว ตัวอย่าง เพื่อเป็นแบบอย่างแก่คนในพื้นที่ 7) มัสยิดควรส่งเสริมให้คนสังคมให้มีหลักความเชื่อ และ การปฏิบัติที่ถูกต้อง จัดตั้งกองทุนซะกาตเพื่อช่วยเหลือผู้ยากไร้ รณรงค์ต่อต้านยาเสพติดและสิ่งที่ ต้องห้ามทุกชนิด สนับสนุนและส่งเสริมคนดีให้เป็นผู้นําในสังคม และส่งเสริมให้คนในสังคมมี ความรักสามัคคีกันท่ามกลางสังคมพหุวัฒนธรรม เพื่อการพัฒนาคุณ ชีวิตมุสลิมได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2024-06-06T04:18:50Z 2024-06-06T04:18:50Z 2023 Thesis http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19443 th Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ application/pdf มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |