การระบุชนิดของรา Aspergillus species และการคัดกรองสายพันธุ์ที่สร้างเอนไซม์ไคติเนสเบื้องต้น

วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (โรคพืชวิทยา), 2566

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: อิทธิพล จิตพิทักษ์
Other Authors: ชนินันท์ พรสุริยา
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 2024
Subjects:
Online Access:http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19445
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Prince of Songkhla University
Language: Thai
id th-psu.2016-19445
record_format dspace
institution Prince of Songkhla University
building Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
collection PSU Knowledge Bank
language Thai
topic รา
โรคพืช
spellingShingle รา
โรคพืช
อิทธิพล จิตพิทักษ์
การระบุชนิดของรา Aspergillus species และการคัดกรองสายพันธุ์ที่สร้างเอนไซม์ไคติเนสเบื้องต้น
description วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (โรคพืชวิทยา), 2566
author2 ชนินันท์ พรสุริยา
author_facet ชนินันท์ พรสุริยา
อิทธิพล จิตพิทักษ์
format Theses and Dissertations
author อิทธิพล จิตพิทักษ์
author_sort อิทธิพล จิตพิทักษ์
title การระบุชนิดของรา Aspergillus species และการคัดกรองสายพันธุ์ที่สร้างเอนไซม์ไคติเนสเบื้องต้น
title_short การระบุชนิดของรา Aspergillus species และการคัดกรองสายพันธุ์ที่สร้างเอนไซม์ไคติเนสเบื้องต้น
title_full การระบุชนิดของรา Aspergillus species และการคัดกรองสายพันธุ์ที่สร้างเอนไซม์ไคติเนสเบื้องต้น
title_fullStr การระบุชนิดของรา Aspergillus species และการคัดกรองสายพันธุ์ที่สร้างเอนไซม์ไคติเนสเบื้องต้น
title_full_unstemmed การระบุชนิดของรา Aspergillus species และการคัดกรองสายพันธุ์ที่สร้างเอนไซม์ไคติเนสเบื้องต้น
title_sort การระบุชนิดของรา aspergillus species และการคัดกรองสายพันธุ์ที่สร้างเอนไซม์ไคติเนสเบื้องต้น
publisher มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
publishDate 2024
url http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19445
_version_ 1802995672631214080
spelling th-psu.2016-194452024-06-06T04:29:03Z การระบุชนิดของรา Aspergillus species และการคัดกรองสายพันธุ์ที่สร้างเอนไซม์ไคติเนสเบื้องต้น Identification of Aspergillus Species and Primary Screening of Chitinase-Producing Strains อิทธิพล จิตพิทักษ์ ชนินันท์ พรสุริยา Faculty of Natural Resources (Pest Management) คณะทรัพยากรธรรมชาติ ภาควิชาการจัดการศัตรูพืช รา โรคพืช วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (โรคพืชวิทยา), 2566 Aspergillus species is an important fungus in the ecosystem. It plays a role as a decomposer commonly found in the soil. Some species in this genus have antifungal properties to control plant pathogenic fungi. However, much research on Aspergillus in Thailand mainly focuses on toxicity tests. While the research on the identification and application of antagonistic microorganisms is not universal. Therefore, this research aimed to identify and describe the morphology of Aspergillus species isolated from soil in southern Thailand, and to preliminarily screen the chitinase-producing strains. Soil samples from 14 provinces in southern Thailand were collected. One hundred and six isolates of Aspergillus species were isolated by serial dilution and pour plate methods. Eighty-four non-aflatoxin-producing isolates were screened and grouped into 4 sections according to the color of the conidial head, and characteristics of vesicles and phialides. Eleven species of Aspergillus species namely A. aculeatinus (9 strains), A. brunneoviolaceus (2 strains), A. flavipes (4 strains), A. floridensis (13 strains), A. niger (19 strains), A. terreus (7 strains), A. neoniger (13 strains), A.trinidadensis (2 strains), A. unguis (3 strains), A. tubingensis (11 strains) and A. vadensis (1 strain) were identified using the nucleotide sequences of the internal transcribed spacers (ITS1-5.8-ITS2) of ribosomal DNA and calmodulin (CaM) genes with the primers pairs ITS1/ITS4 and Cmd5/Cmd6, respectively. Eighty-two strains of the isolated Aspergillus species were detected to produce chitinase on the chitinase detection medium. Most of them were Aspergillus species in section Nigri and Terrei. All 82 strains of Aspergillus species were promising antagonists against plant pathogenic fungi for further screening of other antagonistic properties. Aspergillus เป็นราที่มีความสำคัญในระบบนิเวศ โดยมีบทบาทเป็นผู้ย่อยสลายที่พบได้ทั่วไปในดิน ราบางชนิดในสกุลนี้มีคุณสมบัติเป็นราปฏิปักษ์ในการควบคุมราสาเหตุโรคพืช แต่การศึกษารา Aspergillus species ในประเทศไทยส่วนใหญ่เน้นการทดสอบสารพิษ ในขณะที่การศึกษาเกี่ยวกับการระบุชนิดและการนำมาใช้เป็นจุลินทรีย์ปฏิปักษ์ยังไม่แพร่หลาย ดังนั้นงานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อ ระบุชนิดและอธิบายลักษณะทางสัณฐานวิทยาของรา Aspergillus species ที่แยกได้จากดินในภาคใต้ของประเทศไทย และคัดกรองสานพันธุ์ที่มีคุณสมบัติในการสร้างเอนไซม์ไคติเนสเบื้องต้น ผลการแยกรา Aspergillus species จากตัวอย่างดิน 14 จังหวัดในภาคใต้ของประเทศไทยด้วยวิธี serial dilution และ pour plate ได้รา Aspergillus species จำนวน 106 ไอโซเลต และคัดกรองไอโซเลตที่ไม่สร้างสารพิษอะฟลาทอกซินได้ 84 ไอโซเลต จัดรา Aspergillus species ที่แยกได้ทั้งหมดออกเป็น 4 section ตามสีของ conidial head และลักษณะของเวซิเคิลและ ไฟอะไลด์ การระบุชนิดโดยใช้ลำดับนิวคลีโอไทด์บน DNA บริเวณตำแหน่ง internal transcribed spacer (ITS1-5.8-ITS2) ด้วยคู่ไพรเมอร์ ITS1/ITS4 และยีน calmodulin (CaM) ด้วยคู่ไพรเมอร์ Cmd5/Cmd6 ได้รา Aspergillus spp. 11 ชนิด ได้แก่ A.aculeatinus (9 สายพันธุ์) A. brunneoviolaceus (2 สายพันธุ์) A. flavipes (4 สายพันธุ์) A. floridensis (13 สายพันธุ์) A. niger (19 สายพันธุ์) A. terreus (7 สายพันธุ์) A. neoniger (13 สายพันธุ์) A. trinidadensis (2 สายพันธุ์) A. unguis (3 สายพันธุ์) A. tubingensis (11 สายพันธุ์) และ A. vadensis (1 สายพันธุ์) ผลทดสอบการสร้างเอนไซม์ไคติเนสเบื้องต้นบนอาหาร chitinase detection medium พบรา Aspergillus species จำนวน 82 ไอโซเลต สามารถสร้างเอนไซม์ไคติเนสบนอาหารทดสอบได้ ซึ่งส่วนใหญ่อยู่ใน Section Nigri และ Terrei รา Aspergillus species ทั้ง 82 สายพันธุ์ มีแนวโน้มในการเป็นจุลินทรีย์ปฏิปักษ์ ซึ่งสามารถนำไปคัดกรองคุณสมบัติอื่น ๆ ของการเป็นจุลินทรีย์ปฏิปักษ์ต่อไป 2024-06-06T04:26:40Z 2024-06-06T04:26:40Z 2023 Thesis http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19445 th Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ application/pdf มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์