การประเมินความต้องการโปรตีนของแพะพันธุ์พื้นเมืองไทยที่ใช้ใบปาล์มน้ำมันเป็นแหล่งอาหารหยาบหลัก
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร), 2566
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
2024
|
Subjects: | |
Online Access: | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19454 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Prince of Songkhla University |
Language: | Thai |
id |
th-psu.2016-19454 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Prince of Songkhla University |
building |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
collection |
PSU Knowledge Bank |
language |
Thai |
topic |
แพะพื้นเมืองไทย ระดับโปรตีน ใบปาล์มน้ำมัน สมรรถภาพการเจริญเติบโต |
spellingShingle |
แพะพื้นเมืองไทย ระดับโปรตีน ใบปาล์มน้ำมัน สมรรถภาพการเจริญเติบโต รุ่งรัตน์ ประสมสุข การประเมินความต้องการโปรตีนของแพะพันธุ์พื้นเมืองไทยที่ใช้ใบปาล์มน้ำมันเป็นแหล่งอาหารหยาบหลัก |
description |
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร), 2566 |
author2 |
บดี คำสีเขียว |
author_facet |
บดี คำสีเขียว รุ่งรัตน์ ประสมสุข |
format |
Theses and Dissertations |
author |
รุ่งรัตน์ ประสมสุข |
author_sort |
รุ่งรัตน์ ประสมสุข |
title |
การประเมินความต้องการโปรตีนของแพะพันธุ์พื้นเมืองไทยที่ใช้ใบปาล์มน้ำมันเป็นแหล่งอาหารหยาบหลัก |
title_short |
การประเมินความต้องการโปรตีนของแพะพันธุ์พื้นเมืองไทยที่ใช้ใบปาล์มน้ำมันเป็นแหล่งอาหารหยาบหลัก |
title_full |
การประเมินความต้องการโปรตีนของแพะพันธุ์พื้นเมืองไทยที่ใช้ใบปาล์มน้ำมันเป็นแหล่งอาหารหยาบหลัก |
title_fullStr |
การประเมินความต้องการโปรตีนของแพะพันธุ์พื้นเมืองไทยที่ใช้ใบปาล์มน้ำมันเป็นแหล่งอาหารหยาบหลัก |
title_full_unstemmed |
การประเมินความต้องการโปรตีนของแพะพันธุ์พื้นเมืองไทยที่ใช้ใบปาล์มน้ำมันเป็นแหล่งอาหารหยาบหลัก |
title_sort |
การประเมินความต้องการโปรตีนของแพะพันธุ์พื้นเมืองไทยที่ใช้ใบปาล์มน้ำมันเป็นแหล่งอาหารหยาบหลัก |
publisher |
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |
publishDate |
2024 |
url |
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19454 |
_version_ |
1802995674491387904 |
spelling |
th-psu.2016-194542024-06-06T07:44:03Z การประเมินความต้องการโปรตีนของแพะพันธุ์พื้นเมืองไทยที่ใช้ใบปาล์มน้ำมันเป็นแหล่งอาหารหยาบหลัก Assessment of the Protein Requirement of the Thai Native Goats Using Oil Palm Leaflets as Main Roughage Sources รุ่งรัตน์ ประสมสุข บดี คำสีเขียว Faculty of Science and Industrial Technology คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม แพะพื้นเมืองไทย ระดับโปรตีน ใบปาล์มน้ำมัน สมรรถภาพการเจริญเติบโต วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร), 2566 The objective of this study was to evaluate effects of various crude protein (CP) levels using oil palm leaflets as the main roughage source in total mixed ration (TMR) on productive performance of goats. Sixteen Thai native male goats with initial weights 15.02±1.5 kg and 8-10 months old were assigned to four groups using completely randomized design (CRD). Four dietary treatments consisted of 9.0, 12.0, 15.0 and 18.0% CP levels (T1, T2, T3 and T4, respectively). Animals were fed dietary treatments twice daily in equal parts throughout the 180-d experimental period. Rumen fluids and blood sample were collected at 0, 2 and 4 h after morning feeding prior further analysis. The dry matter intake (DMI) was lowest (p<0.05) in animals fed a T1 diet compared to the rest of three treatments. DMI was increased with the increasing CP levels from 60.62 in T1 to 121.20 g/h/d in T4 diet. Similar trend was observed for fecal N as increased with the increasing CP level in goats fed T1 to T4 diet. Urinary N excretion was highest in animals fed T3 (8.81), whilst lowest was in T2 (4.82 g/h/d) diet. N absorbed and N retention had significantly higher (p<0.05) in animals fed T3 than those fed the other treatments. Ammonia nitrogen (NH3-N) concentration was highest in goats receiving T4 (145.0 mg/L). Blood urea nitrogen (BUN) was increased with increasing CP level from T1 (2.77) to T4 (10.59 mmol/L). Improvement of average daily gain were 35.56 and 66.49 g/h/d (equivalent to 86.98%), when animals fed T1 and T4, respectively. The highest revenue was 474.82 Baht/h during 180-days experimental period in goats fed with T3. Results from this study indicate that the formulated 15.0% CP level using oil palm leaflets as main roughage sources in TMR diet is optimal productive performance and economic return for growing native meat goats. วัตถุประสงค์ของการศึกษาในครั้งนี้เพื่อประเมินระดับของโปรตีนหยาบ ที่ใช้ใบปาล์มน้ำมันเป็นแหล่งอาหารอย่างหลักในอาหารผสมสำเร็จ (TMR) ต่อศักยภาพการผลิตของแพะ แพะเนื้อเพศผู้พันธุ์พื้นเมืองน้ำหนักเริ่มต้น 15.02±1.5 กิโลกรัม จำนวน 16 ตัว ถูกแบ่งเป็น 4 กลุ่ม โดยใช้แผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ (CRD) อาหารทดลอง 4 ทรีทเม้นต์ ประกอบด้วยระดับโปรตีน 9.0, 12.0, 15.0 และ 18.0 % (T1, T2, T3 และ T4 ตามลำดับ) สัตว์ทดลองได้รับอาหารวันละ 2 ครั้งเท่าๆ กันตลอดระยะเวลา 180 วันที่ทำการทดลอง ทำการสุ่มเก็บของเหลวในกระเพาะรูเมนและเลือดที่เวลา 02 และ 4 ชั่วโมงหลังจากการให้อาหารเช้าก่อนที่นำไปวิเคราะห์ต่อไป ผลการทดลองพบว่า การกินได้มวลแห้งมีค่าต่ำที่สุด (p<0.05) ในสัตว์ที่ได้รับอาหาร T1 เปรียบเทียบกับอาหารทดลองอีก 3 ทรีทเม้นท์ที่เหลือ และการกินได้มวลแห้งมีค่าเพิ่มขึ้นตามระดับการเพิ่มขึ้นของโปรตีนหยาบจาก 60.62 ใน T1 เป็น 121.20 กรัมต่อตัวต่อวันใน T4 แนวโน้มของไนโตรเจนที่ขับออกทางมูล (Fecal N) มีค่าเพิ่มขึ้นตามการเพิ่มขึ้นของระดับโปรตีนในอาหารจาก T1 เป็น T4 ไนโตรเจนที่ขับออกทางปัสสาวะ (Urinary N) มีค่าสูงที่สุดในสัตว์ทดลองที่ได้รับอาหาร T3 (8.81) ในขณะที่มีค่าต่ำสุดในอาหารกลุ่ม T2 (4.82 กรัมตัวต่อวัน) ไนโตรเจนที่ดูดซึมและไนโตรเจนที่กัดเก็บ มีค่าสูงกว่าอย่างมีนัยยะสำคัญทางสถิติ (p<0.05) ในสัตว์การทดลองที่ได้รับอาหาร T3 มากกว่ากลุ่มที่ได้รับอาหารทดลองอื่น ค่าความเข้มข้นแอมโมเนียไนโตรเจน (NH3-N) มีค่ามากที่สุดในแพะกลุ่มที่ได้รับอาหาร T4 (145.0 มิลลิกรัมต่อลิตร) ค่ายูเรียไนโตรเจนในเลือด (BUN) มีค่าเพิ่มขึ้นตามระดับโปรตีนที่เพิ่มในสูตรอาหารจาก T1 (2.77) ไปอาหาร T4 (10.59 มิลลิโมลต่อลิตร) อัตราการเจริญเติบโตต่อวัน (ADG) ของสัตว์ทดลองที่ได้รับอาหาร T1 และ T4 มีค่าเพิ่มขึ้น เท่ากับ 35.56 และ 66.49 กรัมต่อตัวต่อวัน (คิดเป็น 86.98 %) แพะกลุ่มที่ได้รับอาหาร T3 พบว่า มีผลประกอบการดีที่สุด เท่ากับ 474.82 บาทต่อตัวต่อระยะเวลาทดลอง 180 วัน ผลจากการศึกษาในครั้งนี้ ชี้ได้ว่าเมื่อคำนวณค่าโปรตีนที่ระดับ 15.0 % โดยใช้ใบปาล์มน้ำมันเป็นแหล่งอาหารหยาบหลักในอาหารทีเอ็มอาร์มีความเหมาะสมต่อศักยภาพการผลิตและความคุ้มค่าทางเศรษฐกิจสำหรับแพะเนื้อพันธุ์พื้นเมืองระยะเจริญเติบโต 2024-06-06T07:43:18Z 2024-06-06T07:43:18Z 2023 Thesis http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19454 th Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ application/pdf มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |