ผลกระทบของการเติมวัสดุเศษเหลือจากธรรมชาติที่มีปริมาณเซลลูโลสสูงในวัสดุผสมต่อสมบัติการหน่วงของการติดไฟและการขยายตัวทางความร้อน
วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (วิศวกรรมอุตสาหการและระบบ), 2562
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
2024
|
Subjects: | |
Online Access: | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19456 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Prince of Songkhla University |
Language: | Thai |
id |
th-psu.2016-19456 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Prince of Songkhla University |
building |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
collection |
PSU Knowledge Bank |
language |
Thai |
topic |
วัสดุเชิงประกอบเสริมเส้นใย พลาสติกเสริมแรงด้วยเส้นใย การควบคุมต้นทุนการผลิต |
spellingShingle |
วัสดุเชิงประกอบเสริมเส้นใย พลาสติกเสริมแรงด้วยเส้นใย การควบคุมต้นทุนการผลิต ณคนัท รักษารักษ์ ผลกระทบของการเติมวัสดุเศษเหลือจากธรรมชาติที่มีปริมาณเซลลูโลสสูงในวัสดุผสมต่อสมบัติการหน่วงของการติดไฟและการขยายตัวทางความร้อน |
description |
วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (วิศวกรรมอุตสาหการและระบบ), 2562 |
author2 |
ธเนศ รัตนวิไล |
author_facet |
ธเนศ รัตนวิไล ณคนัท รักษารักษ์ |
format |
Theses and Dissertations |
author |
ณคนัท รักษารักษ์ |
author_sort |
ณคนัท รักษารักษ์ |
title |
ผลกระทบของการเติมวัสดุเศษเหลือจากธรรมชาติที่มีปริมาณเซลลูโลสสูงในวัสดุผสมต่อสมบัติการหน่วงของการติดไฟและการขยายตัวทางความร้อน |
title_short |
ผลกระทบของการเติมวัสดุเศษเหลือจากธรรมชาติที่มีปริมาณเซลลูโลสสูงในวัสดุผสมต่อสมบัติการหน่วงของการติดไฟและการขยายตัวทางความร้อน |
title_full |
ผลกระทบของการเติมวัสดุเศษเหลือจากธรรมชาติที่มีปริมาณเซลลูโลสสูงในวัสดุผสมต่อสมบัติการหน่วงของการติดไฟและการขยายตัวทางความร้อน |
title_fullStr |
ผลกระทบของการเติมวัสดุเศษเหลือจากธรรมชาติที่มีปริมาณเซลลูโลสสูงในวัสดุผสมต่อสมบัติการหน่วงของการติดไฟและการขยายตัวทางความร้อน |
title_full_unstemmed |
ผลกระทบของการเติมวัสดุเศษเหลือจากธรรมชาติที่มีปริมาณเซลลูโลสสูงในวัสดุผสมต่อสมบัติการหน่วงของการติดไฟและการขยายตัวทางความร้อน |
title_sort |
ผลกระทบของการเติมวัสดุเศษเหลือจากธรรมชาติที่มีปริมาณเซลลูโลสสูงในวัสดุผสมต่อสมบัติการหน่วงของการติดไฟและการขยายตัวทางความร้อน |
publisher |
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |
publishDate |
2024 |
url |
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19456 |
_version_ |
1802995674872020992 |
spelling |
th-psu.2016-194562024-06-07T04:06:34Z ผลกระทบของการเติมวัสดุเศษเหลือจากธรรมชาติที่มีปริมาณเซลลูโลสสูงในวัสดุผสมต่อสมบัติการหน่วงของการติดไฟและการขยายตัวทางความร้อน Effect of Natural Waste Materials with High Cellulose in Composites on Flame Retardant Properties and Thermal Expansion ณคนัท รักษารักษ์ ธเนศ รัตนวิไล Faculty of Engineering (Industrial Engineering) คณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ วัสดุเชิงประกอบเสริมเส้นใย พลาสติกเสริมแรงด้วยเส้นใย การควบคุมต้นทุนการผลิต วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (วิศวกรรมอุตสาหการและระบบ), 2562 The objective of this research is to investigate the effects of wood plastic composites (WPCs) reinforced with three types of natural fibers from agricultural waste; coconut fiber (COF), palm oil fiber (PF) and corn fiber (CF) on the mechanical, physical, thermal and flammability properties by mixing recycled polypropylene plastic (rPP) with the fibers, coupling agent and lubricant. The percentages of recycled polypropylene are 50%, 60% and 70%, natural fiber (NF) contents are in the range of 45%-48%, 35%-38%, and 25%-28%, coupling agent (MAPP) is in the range of 1%-4% and lubricant (L) is 1%. The composite materials were manufactured into panels by using a twin-screw extruder and hot press machine. The data were statistical y analyzed by analysis of variance (ANOVA) and the Tukey’s multiple comparison tests to detect the significant differences between groups. It was found that WPCs with 3% of coupling agent obtained the best mechanical properties and the amount of natural fiber had significant effect on the flexural, tensile, compressive and surface hardness properties of WPCs. The flexural, tensile and compressive strength are reduced when the amount of natural fibers increased in contrast to the surface hardness and modulus values that increased. For the mechanical properties, it was found that the flexural strength, tensile strength, compressive strength and surface hardness of WPCs reinforced with coconut fiber (rPP/COF) obtained the best when compared to those of WPCs reinforced with oil palm fiber (rPP/PF) and corn fiber (rPP/CF). For the physical properties, it was found that the surface roughness significantly increased as the amount of wood fiber was increased. For the thermal properties, no significant differences were found between groups in thermal stability test. But it was found that the thermal expansion of WPCs with higher fiber content was lower. For the flammability properties, it was found that WPCs with lower fiber content were less flammable. In addition, when comparing WPCs from the natural fibers using the composition ratio at rPP70NF26M3 which obtained the best in mechanical, physical, thermal expansion and flammability properties with the medium density fiberboard standard (TIS.966-2547) and flat pressed fiberboard standard (TIS.876-2547), it was found that WPCs with this composition ratio met the both criteria. In terms of production costs, no significant differences were found between groups as the production cost of rPP/COF is 25.57 baht per piece, rPP/PF is 24.73 baht per piece and rPP/CF is 24.41 baht per piece. งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวัสดุผสมไม้พลาสติกจากเส้นใยเหลือใช้จากเศษวัสดุทาง การเกษตร 3 ชนิดได้แก่ เส้นใยกาบมะพร้าว เส้นใยกากทะลายปาล์มน้ำมัน และเส้นใยซังข้าวโพด โดยศึกษาอิทธิพลของชนิดและปริมาณเส้นใย ต่อสมบัติเชิงกล สมบัติทางกายภาพ การขยายตัวทางความ ร้อน และการติดไฟ โดยทำการผสมพลาสติกพอลิโพรพีลีนรีไซเคิลกับเส้นใยไม้ สารเติมแต่ง และสาร หล่อลื่น ที่ปริมาณพอลิโพรพีลีนรีไซเคิลร้อยละ 50, 60 และ 70 ปริมาณเส้นใยในช่วงร้อยละ 45-48, 35-38 และ 25-28 สารเติมแต่งในช่วงร้อยละ 1-4 และสารหล่อลื่น ร้อยละ 1 จากนั้นทำการขึ้นรูป ชิ้นงานทดสอบวัสดุไม้พลาสติกด้วยเครื่องอัดรีดเกลียวคู่ และเครื่องอัดร้อน ทำการวิเคราะห์ความแปรปรวน (ANOVA) ด้วยวิธี Tukey’s multiple comparison test พบว่าที่สารเติมแต่ง ร้อยละ 3 ให้ค่าสมบัติ เชิงกลที่ดีที่สุด นอกจากนี้พบว่าปริมาณของเส้นใยส่งผลกระทบอย่างมีนัยสำคัญต่อสมบัติการต้านทานแรง แรงดัด สมบัติการต้านทานแรงดึง สมบัติแรงการต้านทานแรงอัดและ สมบัติความแข็งผิวของวัสดุผสมไม้ พลาสติก โดยค่าความแข็งแรงดัด ค่าความแข็งแรงดึงและ แรงอัดจะลดลงเมื่อปริมาณเส้นใยธรรมชาติ เพิ่มขึ้น ตรงกันข้ามกับค่าความแข็งผิวและค่ามอดูลัสที่เพิ่มขึ้นเมื่อปริมาณเส้นใยธรรมชาติเพิ่มขึ้น และ พบว่าวัสดุผสมที่ผสมกับเส้นใยกาบมะพร้าวมีค่าความแข็งแรงดัด ค่าความแข็งแรงดึง ค่าความแข็งแรงอัด และค่าความแข็งผิวที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น มากกว่าเส้นใยกากทะลายปาล์มน้ำมันและเส้นใยซังข้าวโพด ตามลำดับ ในส่วนของความขรุขระผิว พบว่าเมื่อปริมาณเส้นใยเพิ่มขึ้นในไม้ทุกชนิดส่งผลกระทบต่อความ ขรุขระผิวของวัสดุผสมอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับความเชื่อมั่น 95% (α = 0.05) ในส่วนของการทดสอบ สมบัติทางความร้อน การขยายตัวทางความร้อนและการติดไฟ พบว่า วัสดุผสมที่สร้างจากเส้นใยแต่ละชนิด ในอัตราส่วนปริมาณที่แตกต่างกันจะมีเสถียรภาพทางความร้อนที่ไม่แตกต่างอย่างมีนัยสำคัญ แต่สมบัติการ ขยายตัวทางความร้อนนั้นจะพบว่าการขยายตัวจะลดลงเมื่อปริมาณเส้นใยธรรมชาติเพิ่มขึ้น ตรงข้ามกับ สมบัติการติดไฟช้าลงเมื่อปริมาณเส้นใยธรรมชาติลดลง นอกจากนี้เมื่อนำวัสดุผสมไม้พลาสติกจากไม้ทุก ชนิดที่อัตราส่วน rPP70NF26M3 ซึ่งให้สมบัติเชิงกล สมบัติทางกายภาพ การขยายตัวทางความร้อน และ การติดไฟที่ดีที่สุด ไปเทียบกับมาตรฐานแผ่นไม้อัดความหนาแน่นปานกลาง (มอก.966-2547) และแผ่นไม้ อัดชนิดราบ (มอก.876-2547) พบว่าวัสดุผสมไม้พลาสติกที่อัตราส่วน rPP70NF26M3 นั้นผ่านเกณฑ์ทั้ง สอง นอกจากนี้เมื่อทำการวิเคราะห์ต้นทุนการผลิต พบว่าวัสดุผสมไม้พลาสติกนั้นมีต้นทุนที่ไม่แตกต่างกัน มากนักโดยที่วัสดุผสมไม้พลาสติกที่เกิดจากผสมของเส้นใยกาบมะพร้าวมีต้นทุนการผลิตที่ 25.57 บาทต่อ ชิ้น จากเส้นใยกากทะลายปาล์มน้ำมัน มีต้นทุนการผลิตที่ 24.73 บาทต่อชิ้น และจากซังข้าวโพดมี ต้นทุนการผลิตที่ 24.41 บาทต่อชิ้น 2024-06-07T04:06:34Z 2024-06-07T04:06:34Z 2019 Thesis http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19456 th Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ application/pdf มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |