การศึกษาแนวทางการสร้างชุมชนขยะเป็นศูนย์ด้วยการแปลงขยะเป็นพลังงาน
ผลการดำเนินการศึกษารูปแบบการจัดการขยะในปัจจุบัน1. จากการสำรวจองค์ประกอบของขยะมูลฝอย ณ จุดรับขยะมูลฝอยของเทศบาลนครหาดใหญ่ เมื่อเดือนธันวาคม 2563 พบว่า องค์ประกอบของขยะมูลฝอยส่วนใหญ่เป็นพลาสติก รองลงมาคือ ออร์แกนิค กระดาษ และผ้า ตามลำดับ2. ปริมาณขยะมูลฝอยจากข้อมูลของ สสภ.16 ปี 2560 พบว่า เทศบาลนครหาดใ...
Saved in:
Main Authors: | , |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Technical Report |
Language: | Thai |
Published: |
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
2024
|
Subjects: | |
Online Access: | https://tnrr.nriis.go.th/#/services/research-report/detail/1033829 http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19489 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Prince of Songkhla University |
Language: | Thai |
id |
th-psu.2016-19489 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-psu.2016-194892024-06-19T04:02:52Z การศึกษาแนวทางการสร้างชุมชนขยะเป็นศูนย์ด้วยการแปลงขยะเป็นพลังงาน วรางคณา จุติดำรงค์พันธ์ วีระพงศ์ วงบุญ Faculty of Environmental Management (Environmental Management) คณะการจัดการสิ่งแวดล้อม สาขาวิชาการจัดการสิ่งแวดล้อม พลังงานจากขยะ ชุมชน ผลการดำเนินการศึกษารูปแบบการจัดการขยะในปัจจุบัน1. จากการสำรวจองค์ประกอบของขยะมูลฝอย ณ จุดรับขยะมูลฝอยของเทศบาลนครหาดใหญ่ เมื่อเดือนธันวาคม 2563 พบว่า องค์ประกอบของขยะมูลฝอยส่วนใหญ่เป็นพลาสติก รองลงมาคือ ออร์แกนิค กระดาษ และผ้า ตามลำดับ2. ปริมาณขยะมูลฝอยจากข้อมูลของ สสภ.16 ปี 2560 พบว่า เทศบาลนครหาดใหญ่ มีปริมาณขยะ 301.7 ตัน/วัน ปริมาณขยะที่เก็บขนไปกำจัดอย่างถูกต้อง 222.22 ตัน/วัน ปริมาณขยะที่ถูกนำไปใช้ประโยชน์ 79.48 ตัน/วัน 3. เทศบาลนครหาดใหญ่ มีแหล่งกำเนิดขยะมูลฝอยจำนวน 2,058 แห่ง โดยแหล่งกำเนิดขยะมูลฝอยที่สำคัญ คือ ร้านอาหาร รองลงมาคือ โรงแรม/รีสอร์ท/หอพัก ธนาคาร หน่วยงานราชการ/เอกชน ตลาด ห้างสรรพสินค สถานศึกษา และตลาด ตามลำดับ4. ระบบฝังกลบขยะมูลฝอย ทน.หาดใหญ่ ตั้งอยู่ในพื้นที่ ม. 3 ต.ควนลัง อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา พิกัดที่ บท (N) 656070 มีพื้นที่ประมาณ 135 ไร่ ซึ่งทน.หาดใหญ่จัดซื้อที่ดินเมื่อปี 2518 ห่างจากเขตทน.หาดใหญ่ 12 กิโลเมตร ตามถนนสนามบินพาณิชย์ โดยอยู่ในเขตพื้นที่การปกครองของทม.ควนลัง5. การจัดการขยะของเทศบาล ประกอบด้วย 1) ระบบจัดเก็บ รวบรวม ขนส่งขยะมูลฝอย จัดทำโดย ทน.หาดใหญ่ และ 2) ระบบกำจัดขยะ ทำโดยบริษัทเอกชน (GIDEC) 6. ทน.หาดใหญ่ดำเนินการเก็บขนขยะมูลฝอยเองและจ้างเหมาเอกชน โดยจ้างเหมา หจก. ซุ่นเฮงก่อสร้าง ในการเก็บขนขยะมูลฝอย ในอัตราตันละ 1,075 บาท ทน.หาดใหญ่ไม่มีเทศบัญญัติการเก็บค่าธรรมเนียมการกำจัดขยะมูลฝอยและไม่มีการจัดเก็บค่ากำจัดขยะมูลฝอยจากครัวเรือนหรือสถานประกอบการ7. ระบบเตาเผาขยะและแปรรูปเป็นพลังงานไฟฟ้าด้วยเทคนิค Energy Recovery Gasification (ERG) ประมาณวันละ 250 ตัน ผลิตกระแสไฟฟ้าได้ 6 เมกะวัตต์ 2024-06-19T04:00:16Z 2024-06-19T04:00:16Z 2564 Technical Report https://tnrr.nriis.go.th/#/services/research-report/detail/1033829 http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19489 th application/pdf มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |
institution |
Prince of Songkhla University |
building |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
collection |
PSU Knowledge Bank |
language |
Thai |
topic |
พลังงานจากขยะ ชุมชน |
spellingShingle |
พลังงานจากขยะ ชุมชน วรางคณา จุติดำรงค์พันธ์ วีระพงศ์ วงบุญ การศึกษาแนวทางการสร้างชุมชนขยะเป็นศูนย์ด้วยการแปลงขยะเป็นพลังงาน |
description |
ผลการดำเนินการศึกษารูปแบบการจัดการขยะในปัจจุบัน1. จากการสำรวจองค์ประกอบของขยะมูลฝอย ณ จุดรับขยะมูลฝอยของเทศบาลนครหาดใหญ่ เมื่อเดือนธันวาคม 2563 พบว่า องค์ประกอบของขยะมูลฝอยส่วนใหญ่เป็นพลาสติก รองลงมาคือ ออร์แกนิค กระดาษ และผ้า ตามลำดับ2. ปริมาณขยะมูลฝอยจากข้อมูลของ สสภ.16 ปี 2560 พบว่า เทศบาลนครหาดใหญ่ มีปริมาณขยะ 301.7 ตัน/วัน ปริมาณขยะที่เก็บขนไปกำจัดอย่างถูกต้อง 222.22 ตัน/วัน ปริมาณขยะที่ถูกนำไปใช้ประโยชน์ 79.48 ตัน/วัน 3. เทศบาลนครหาดใหญ่ มีแหล่งกำเนิดขยะมูลฝอยจำนวน 2,058 แห่ง โดยแหล่งกำเนิดขยะมูลฝอยที่สำคัญ คือ ร้านอาหาร รองลงมาคือ โรงแรม/รีสอร์ท/หอพัก ธนาคาร หน่วยงานราชการ/เอกชน ตลาด ห้างสรรพสินค สถานศึกษา และตลาด ตามลำดับ4. ระบบฝังกลบขยะมูลฝอย ทน.หาดใหญ่ ตั้งอยู่ในพื้นที่ ม. 3 ต.ควนลัง อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา พิกัดที่ บท (N) 656070 มีพื้นที่ประมาณ 135 ไร่ ซึ่งทน.หาดใหญ่จัดซื้อที่ดินเมื่อปี 2518 ห่างจากเขตทน.หาดใหญ่ 12 กิโลเมตร ตามถนนสนามบินพาณิชย์ โดยอยู่ในเขตพื้นที่การปกครองของทม.ควนลัง5. การจัดการขยะของเทศบาล ประกอบด้วย 1) ระบบจัดเก็บ รวบรวม ขนส่งขยะมูลฝอย จัดทำโดย ทน.หาดใหญ่ และ 2) ระบบกำจัดขยะ ทำโดยบริษัทเอกชน (GIDEC) 6. ทน.หาดใหญ่ดำเนินการเก็บขนขยะมูลฝอยเองและจ้างเหมาเอกชน โดยจ้างเหมา หจก. ซุ่นเฮงก่อสร้าง ในการเก็บขนขยะมูลฝอย ในอัตราตันละ 1,075 บาท ทน.หาดใหญ่ไม่มีเทศบัญญัติการเก็บค่าธรรมเนียมการกำจัดขยะมูลฝอยและไม่มีการจัดเก็บค่ากำจัดขยะมูลฝอยจากครัวเรือนหรือสถานประกอบการ7. ระบบเตาเผาขยะและแปรรูปเป็นพลังงานไฟฟ้าด้วยเทคนิค Energy Recovery Gasification (ERG) ประมาณวันละ 250 ตัน ผลิตกระแสไฟฟ้าได้ 6 เมกะวัตต์ |
author2 |
Faculty of Environmental Management (Environmental Management) |
author_facet |
Faculty of Environmental Management (Environmental Management) วรางคณา จุติดำรงค์พันธ์ วีระพงศ์ วงบุญ |
format |
Technical Report |
author |
วรางคณา จุติดำรงค์พันธ์ วีระพงศ์ วงบุญ |
author_sort |
วรางคณา จุติดำรงค์พันธ์ |
title |
การศึกษาแนวทางการสร้างชุมชนขยะเป็นศูนย์ด้วยการแปลงขยะเป็นพลังงาน |
title_short |
การศึกษาแนวทางการสร้างชุมชนขยะเป็นศูนย์ด้วยการแปลงขยะเป็นพลังงาน |
title_full |
การศึกษาแนวทางการสร้างชุมชนขยะเป็นศูนย์ด้วยการแปลงขยะเป็นพลังงาน |
title_fullStr |
การศึกษาแนวทางการสร้างชุมชนขยะเป็นศูนย์ด้วยการแปลงขยะเป็นพลังงาน |
title_full_unstemmed |
การศึกษาแนวทางการสร้างชุมชนขยะเป็นศูนย์ด้วยการแปลงขยะเป็นพลังงาน |
title_sort |
การศึกษาแนวทางการสร้างชุมชนขยะเป็นศูนย์ด้วยการแปลงขยะเป็นพลังงาน |
publisher |
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |
publishDate |
2024 |
url |
https://tnrr.nriis.go.th/#/services/research-report/detail/1033829 http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19489 |
_version_ |
1802995683024699392 |