การสะสมของสารโพลีไซคลิกอะโรมาติกไฮโดรคาร์บอนในแท่งตะกอนดินทะเลน้อยและทะเลสาบหนองหานกุมภวาปี

วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการสิ่งแวดล้อม), 2562

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: ณัฐพงษ์ เอียดเต็ม
Other Authors: ดนัย ทิพย์มณี
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 2024
Subjects:
Online Access:http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19506
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Prince of Songkhla University
Language: Thai
id th-psu.2016-19506
record_format dspace
spelling th-psu.2016-195062024-06-25T04:15:31Z การสะสมของสารโพลีไซคลิกอะโรมาติกไฮโดรคาร์บอนในแท่งตะกอนดินทะเลน้อยและทะเลสาบหนองหานกุมภวาปี Accumulation of polycyclic aromatic hydrocarbons (PAHs) in lakes sediments core in Thalenoi and Nonghankumpawapi lake ณัฐพงษ์ เอียดเต็ม ดนัย ทิพย์มณี Faculty of Environmental Management (Environmental Management) คณะการจัดการสิ่งแวดล้อม สาขาวิชาการจัดการสิ่งแวดล้อม ดิน การวิเคราะห์ วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการสิ่งแวดล้อม), 2562 Analysis of types and quantities of 15 PAHs (including Phenanthrene, Anthracene, Flouoranthene, Pyrene, 11HBenzo[a]Fluoranthene, 11HBenzo[b] Fluoranthene, Benzo[a]Anthracene, Chrysene, Benzo[b]Fluoranthene, Benzo[k] Fluoranthene, Benzo[a]Pyrene, Benzo[e]Pyrene, Benzo[g,h,i]Perylene, Dibenzo[a,h] Anthracene and Indeno[1,2,3-cd]pyrene) in 73 sediment core samples from Thalenoi and 62 samples from Nonghankumpawapi Lake. By analyzing the relationships of elements deposited in the sediment through time at different depths, the sources of PAHs can be determined. The sediment extraction process was carried out by the soxhlet method using dichloromethane (DCM) as solvent, and then took to intensity measurement by GC-MS concentrations. Total concentration of PAHs (Σ PAHs) in Thalenoi sediment ranged from 169-1,217, 20-169, 19-167 ng/g dry weight for station SL1, SL2, SL3 respectively. Whereas, ΣPAHs in sediments core from Nonghankumpha wapi Lake ranged from 242-1,111, 170-394, 110-650 ng/g dry weight for station HK1, HK2, HK3 respectively. Source identification using diagnostic PAH ratios indicated composition of PAHs in sediment samples were characterized by pyrogenic source and petrogenic respectively. From the result of disaster that happened in Thalenoi during 1961-1979 found the El Nino almost every year. The result showed the drought is longer than usually and it affacted to forest fire in 1965 at Thalenoi area. Nonghankumphawapi Lake assumed from the geochemical of organic matter from the past. The result found a lot of fragments of charcoal that made from biomass burning and related with the dry weather from that time its affacted to forest fire during the period early holocene. จากการวิเคราะห์ชนิดและปริมาณของสาร PAHs 15 ชนิด (ประกอบด้วย Phenanthrene, Anthracene, Flouoranthene, Pyrene, 11HBenzo[a]Fluoranthene, 11HBenzo[b]Fluoranthene, Benzo[a]Anthracene, Chrysene, Benzo[b]Fluoranthene, Benzo[k]Fluoranthene, Benzo[a]pyrene, Benzo[e]Pyrene, Benzo[g,h,i]Perylene, Dibenzola,h] Anthracene, และ Indeno[1,2,3-cdlpyrene ในตัวอย่างตะกอนดินจากทะเลน้อย 73 ตัวอย่าง และทะเลสาบหนองหานกุมภวาปี 62 ตัวอย่าง โดยการสกัดด้วย Soxhlet Extraction ใช้ไดคลอโรมีเทน (DCM) เป็นตัวทําละลาย แล้วนําไปตรวจวัดค่าระดับความเข้มข้นด้วยเครื่อง GC-MS พบว่าตะกอนดินทะเลน้อยของสถานี SL1, SL2, SL3 มีค่าความเข้มข้นของ TPAHS15 อยู่ ในช่วง 169-1,217, 20-169, 19-167 นนก./ก.นน.แห้ง ตามลําดับ ส่วนตะกอนดินทะเลสาบหนอง หานกุมภวาปีของสถานี HK1, HK2, HK3 มีค่าความเข้มข้นของ TPAHS15 อยู่ในช่วง 242-1,111, 170-394, 110-650 นนก./ก.นน.แห้ง ตามลําดับ จากการวิเคราะห์อัตราส่วนองค์ประกอบระหว่าง ชนิดของสาร PAHs พบว่าสาร PAHs ที่สะสมตลอดแท่งตะกอนดินส่วนใหญ่มีแหล่งกําเนิดมาจากการ เผาไหม้ที่ไม่สมบูรณ์ รองลงมาคือ ปิโตรเลียม และจากการวิเคราะห์หาคาบอุบัติซ้ําของภัยธรรมชาติที่ เกิดขึ้นจากทะเลน้อยในปีพ.ศ. 2504-2522 ประเทศไทยประสบกับปรากฏการณ์เอลนีโญเป็นประจํา แทบทุกปี ส่งผลให้ประเทศไทยเกิดภาวะภัยแล้งที่ยาวนานกว่าปกติ และจากภาวะแห้งแล้งนี้จึงส่งผล ให้ในปีพ.ศ.2508 บริเวณเขตห้ามล่าสัตว์ป่าทะเลน้อยเกิดไฟไหม้ป่าครั้งใหญ่ขึ้น ส่วนทะเลสาบ หนองหานกุมภวาปีสามารถสันนิษฐานได้จากหลักฐานทางธรณีเคมีของอินทรียวัตถุจากอดีตส่วนใหญ่ พบเศษถ่านไม้ที่เกิดจากการเผาไหม้เป็นจํานวนมากประกอบกับสภาพอากาศแบบแห้งแห้ง จึงคาดว่า มีเหตุกาณ์ไฟไหม้ป่าอย่างบ่อยครั้งในช่วงสมัยโฮโลซีนตอนต้น 2024-06-25T04:15:31Z 2024-06-25T04:15:31Z 2019 Thesis http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19506 th Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ application/pdf มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
institution Prince of Songkhla University
building Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
collection PSU Knowledge Bank
language Thai
topic ดิน การวิเคราะห์
spellingShingle ดิน การวิเคราะห์
ณัฐพงษ์ เอียดเต็ม
การสะสมของสารโพลีไซคลิกอะโรมาติกไฮโดรคาร์บอนในแท่งตะกอนดินทะเลน้อยและทะเลสาบหนองหานกุมภวาปี
description วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการสิ่งแวดล้อม), 2562
author2 ดนัย ทิพย์มณี
author_facet ดนัย ทิพย์มณี
ณัฐพงษ์ เอียดเต็ม
format Theses and Dissertations
author ณัฐพงษ์ เอียดเต็ม
author_sort ณัฐพงษ์ เอียดเต็ม
title การสะสมของสารโพลีไซคลิกอะโรมาติกไฮโดรคาร์บอนในแท่งตะกอนดินทะเลน้อยและทะเลสาบหนองหานกุมภวาปี
title_short การสะสมของสารโพลีไซคลิกอะโรมาติกไฮโดรคาร์บอนในแท่งตะกอนดินทะเลน้อยและทะเลสาบหนองหานกุมภวาปี
title_full การสะสมของสารโพลีไซคลิกอะโรมาติกไฮโดรคาร์บอนในแท่งตะกอนดินทะเลน้อยและทะเลสาบหนองหานกุมภวาปี
title_fullStr การสะสมของสารโพลีไซคลิกอะโรมาติกไฮโดรคาร์บอนในแท่งตะกอนดินทะเลน้อยและทะเลสาบหนองหานกุมภวาปี
title_full_unstemmed การสะสมของสารโพลีไซคลิกอะโรมาติกไฮโดรคาร์บอนในแท่งตะกอนดินทะเลน้อยและทะเลสาบหนองหานกุมภวาปี
title_sort การสะสมของสารโพลีไซคลิกอะโรมาติกไฮโดรคาร์บอนในแท่งตะกอนดินทะเลน้อยและทะเลสาบหนองหานกุมภวาปี
publisher มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
publishDate 2024
url http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19506
_version_ 1803351763276791808