รูปแบบการสั่งจ่ายยาต้านอักเสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด์ในผุ้ป่วยโรคข้อเสื่อม

เภสัชศาสตรมหาบัณฑิต (เภสัชกรรมคลินิก), 2562

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: เยี่ยมรุ้ง วงศ์กำแหง
Other Authors: ณัฐาศิริ ฐานะวุฑฒ์
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 2024
Subjects:
Online Access:http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19510
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Prince of Songkhla University
Language: Thai
id th-psu.2016-19510
record_format dspace
institution Prince of Songkhla University
building Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
collection PSU Knowledge Bank
language Thai
topic สารต้านการอักเสบ
spellingShingle สารต้านการอักเสบ
เยี่ยมรุ้ง วงศ์กำแหง
รูปแบบการสั่งจ่ายยาต้านอักเสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด์ในผุ้ป่วยโรคข้อเสื่อม
description เภสัชศาสตรมหาบัณฑิต (เภสัชกรรมคลินิก), 2562
author2 ณัฐาศิริ ฐานะวุฑฒ์
author_facet ณัฐาศิริ ฐานะวุฑฒ์
เยี่ยมรุ้ง วงศ์กำแหง
format Theses and Dissertations
author เยี่ยมรุ้ง วงศ์กำแหง
author_sort เยี่ยมรุ้ง วงศ์กำแหง
title รูปแบบการสั่งจ่ายยาต้านอักเสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด์ในผุ้ป่วยโรคข้อเสื่อม
title_short รูปแบบการสั่งจ่ายยาต้านอักเสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด์ในผุ้ป่วยโรคข้อเสื่อม
title_full รูปแบบการสั่งจ่ายยาต้านอักเสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด์ในผุ้ป่วยโรคข้อเสื่อม
title_fullStr รูปแบบการสั่งจ่ายยาต้านอักเสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด์ในผุ้ป่วยโรคข้อเสื่อม
title_full_unstemmed รูปแบบการสั่งจ่ายยาต้านอักเสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด์ในผุ้ป่วยโรคข้อเสื่อม
title_sort รูปแบบการสั่งจ่ายยาต้านอักเสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด์ในผุ้ป่วยโรคข้อเสื่อม
publisher มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
publishDate 2024
url http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19510
_version_ 1803351764472168448
spelling th-psu.2016-195102024-06-25T07:03:03Z รูปแบบการสั่งจ่ายยาต้านอักเสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด์ในผุ้ป่วยโรคข้อเสื่อม Prescribing patterns of non-steroidal anti-inflammatory drugs in patients with osteoarthritis เยี่ยมรุ้ง วงศ์กำแหง ณัฐาศิริ ฐานะวุฑฒ์ Faculty of Pharmaceutical Sciences (Clinical Pharmacy) คณะเภสัชศาสตร์ ภาควิชาเภสัชกรรมคลินิก สารต้านการอักเสบ เภสัชศาสตรมหาบัณฑิต (เภสัชกรรมคลินิก), 2562 Non-steroidal anti-inflammatory drugs (NSAIDs) has been generally used as a specific treatment for the patients with osteoarthritis, particularly in the elderly people who are often at risk of adverse reactions from using NSAIDs. In Thailand, it has less information about NSAIDs that used in osteoarthritis case especially patients with cardiovascular risk. This study aims to examine the prescribing patterns and proportion of NSAIDs usage in osteoarthritis patients with or without cardiovascular risk. In addition, the factors affecting doctor's decision in choosing types of NSAIDs by cross-sectional study was investigated. The data was collected retrospectively from the osteoarthritis patients' medical records at Veteran general hospital since 1 July 2560 until 30 December 2560. The questionnaires were distributed to 42 orthopedic physicians of Veteran general hospital and Phramongkutklao hospital to collect the data of physicians' decision in selecting the types of NSAIDs for prescribing. There were 1,550 osteoarthritis patients, 67.4% were female (64.3 ± 10.8 years old) with 90% of knee osteoarthritis. Overall, 64.5% of patients were prescribed NSAIDs with 84.1% of these were prescribed selective COX-2 inhibitors. Of the 213 patients with cardiovascular risks, 66.2% treated with NSAIDs and 82.3% of these were selective COX-2 inhibitor. According to non-selective NSAIDs, diclofenac is most prescribing drug (7%) whereas Naproxen was prescribed with 1.1%. Overall of NSAIDs prescribing, celecoxib and etoricoxib were most commonly prescribed drugs with 36.3% and 31.8%, respectively. It was found inappropriate over dosing in 95% and 34.2% of etoricoxib and celecoxib prescriptions. Of 1,550 osteoarthritis, patients with cardiovascular and gastrointestinal risks were 13.5% (210 cases). Of these, 82.3% (116 cases) were prescribed with selective COX-2 inhibitors, 25 of cases were non- selective NSAIDs and only 1 case was prescribed with naproxen. In patients without gastrointestinal risks, 83.8% received gastro-protective agents from NSAIDs, which 69.7% were selective COX-2 inhibitors. The physicians gave the key potential factors for considering in NSIADS prescribing were the efficiency of NSAIDs using, age and medical welfare of patients. In summary, sixty-four percent of osteoarthritis patients were treated with NSAIDs with four-fifth were selective COX-2 inhibitors. Selective COX-2 inhibitors were over prescribed to the patients without gastrointestinal risk from NSAIDs. Two- third of patients with cardiovascular risk received NSAIDs. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ยาต้านอักเสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด์ (Nonsteroidal anti-inflammatory drugs; NSAIDs) เป็นยาที่ใช้มากในผู้ป่วยโรคข้อเสื่อมซึ่งเป็นโรคที่พบมากในผู้สูงอายุ ผู้ป่วยสูงอายุมักเป็นกลุ่ม เสี่ยงที่จะเกิดอาการไม่พึงประสงค์ต่างๆจากการใช้ NSAIDs ในประเทศไทยมีข้อมูลน้อยเกี่ยวกับการใช้ NSAIDs ในผู้ป่วยโรคข้อเสื่อมโดยเฉพาะผู้ป่วยที่มีปัจจัยเสี่ยงของโรคระบบหัวใจและหลอดเลือด การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบและสัดส่วนการสั่งจ่ายยาต้านอักเสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด์ใน ผู้ป่วยโรคข้อเสื่อมทั้งที่มีหรือไม่มีปัจจัยเสี่ยงของโรคระบบหัวใจและหลอดเลือด และศึกษาปัจจัยที่มี ผลต่อการตัดสินใจของแพทย์ในการเลือกชนิดยาต้านอักเสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด์ โดยมีรูปแบบ การศึกษาแบบภาคตัดขวาง การศึกษารูปแบบการสั่งจ่ายยาทําโดยเก็บข้อมูลย้อนหลังจากบันทึกเวช ระเบียนของผู้ป่วยโรคข้อเสื่อมที่เข้ารับการรักษาพยาบาลที่โรงพยาบาลทหารผ่านศึกตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม ถึง 30 ธันวาคม 2560 และการศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจของแพทย์ในการเลือก ชนิดยาต้านอักเสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด์สําหรับผู้ป่วยโรคข้อเสื่อมโดยใช้แบบสอบถามสํารวจความเห็น จากแพทย์ผู้เชี่ยวชาญโรคกระดูกและข้อของโรงพยาบาลทหารผ่านศึกและโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า จํานวน 42 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา non- ผลการศึกษา กลุ่มตัวอย่างผู้ป่วยโรคข้อเสื่อมจํานวน 1,550 รายเป็นเพศหญิงร้อยละ 67.4 มีอายุเฉลี่ย 64.3+10.8 ปี พบโรคข้อเสื่อมชนิดข้อเข่าเสื่อมร้อยละ 90 ได้รับการรักษาโรคข้อ เสื่อมด้วยยาต้านอักเสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด์ร้อยละ 64.5 โดยคิดเป็นสัดส่วนระหว่างชนิด non- selective NSAIDs และชนิด selective COX-2 inhibitors เป็น ร้อยละ 15.9 และร้อยละ 84.1 ตามลําดับ ในผู้ป่วยโรคข้อเสื่อมที่มีปัจจัยเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดจากการใช้ NSAIDs ได้รับ การรักษาด้วยยาต้านอักเสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด์ ร้อยละ 66.2 โดยคิดสัดส่วนระหว่างชนิด selective NSAIDs กับชนิด selective COX-2 inhibitors เป็นร้อยละ 17.7 และร้อยละ 82.3 ตามลําดับ ซึ่งเป็นสัดส่วนที่ใกล้เคียงกับผู้ป่วยโรคข้อเสื่อมทั่วไป รูปแบบการสั่งใช้ยาต้านอักเสบที่ ไม่ใช่สเตียรอยด์พบว่าชนิด non-selective NSAIDs ที่มีการสั่งจ่ายมากที่สุดเป็น Diclofenac คิดเป็น ร้อยละ 7 ของการสั่งจ่ายส่วนยาต้านอักเสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด์ทั้งหมด ในขณะที่มีการสั่งจ่าย Naproxen เพียงร้อยละ 1.1 ชนิด selective COX-2 inhibitors สองชนิดที่มีการสั่งจ่ายมาก ใกล้เคียงกันเป็น Celecoxib และ Etoricoxib คิดเป็นร้อยละ 36.3 และ 31.8 ของการสั่งจ่ายยาต้าน อักเสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด์ทั้งหมดตามลําดับ พบความไม่เหมาะสมในด้านการสั่งใช้ขนาดยาของยา selective COX-2 inhibitors โดยพบการสั่งใช้ในขนาดที่สูงกว่าขนาดยาที่แนะนําถึงร้อยละ 95 ของการสั่งใช้ยา Etoricoxib และร้อยละ 34.2 ของการสั่งใช้ยา Celecoxib ในกลุ่มตัวอย่างนี้พบผู้ป่วย โรคข้อเสื่อมที่มีปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดจากการใช้ NSAIDs ร่วมกับมีปัจจัย เสี่ยงต่อการเกิดผลข้างเคียงในระบบทางเดินอาหารจากการใช้ NSAIDs ร้อยละ 13.5 (210 ราย) โดย ในกลุ่มผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงระดับสูงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดจากการใช้ NSAIDs ร่วมกับมี ความเสี่ยงระดับปานกลางถึงสูงต่อการเกิดผลข้างเคียงในระบบทางเดินอาหารจากการใช้ NSAIDs พบ การจ่ายยาชนิด selective COX-2 inhibitors ถึงร้อยละ 82.3 มีผู้ป่วยเพียง 25 ราย ที่ได้รับ non- selective NSAIDs และมีเพียง 1 ราย ที่เป็นการสั่งจ่าย Naproxen ซึ่งเป็นยาที่แนะนําให้ใช้ในผู้ป่วย กลุ่มนี้ ในผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงระดับต่ําทั้งต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด และต่อระบบทางเดิน อาหารจากการใช้ NSAIDS ได้รับยาป้องกันการเกิดผลข้างเคียงในระบบทางเดินอาหารจาก NSAIDS มากเกินไปถึงร้อยละ 83.8 โดยร้อยละ 69.7 เป็นการใช้ selective COX-2 inhibitors ซึ่งทําให้เกิด การสูญเสียค่าใช้จ่าย แพทย์ให้ความสําคัญต่อปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกใช้ชนิดของ NSAIDs ในระดับ มากในเรื่องของประสิทธิภาพของยา NSAIDs อายุผู้ป่วย และสิทธิประโยชน์ในการรักษาพยาบาลของ ผู้ป่วย ซึ่งสอดคล้องกับผลการวิเคราะห์เชิงปริมาณจากข้อมูลการสั่งจ่ายยาพบความสัมพันธ์ของปัจจัย ในเรื่อง อายุของผู้ป่วย สิทธิประโยชน์ในการรักษาพยาบาล และความเสี่ยงต่อโรคระบบทางเดิน อาหารต่อชนิดของ NSAIDs ที่ผู้ป่วยได้รับอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ สรุปผลการศึกษา ผู้ป่วยโรคข้อเสื่อมโดยส่วนใหญ่ได้รับการรักษาด้วย NSAIDs โดยมี สัดส่วนเป็นการสั่งจ่ายยาชนิด selective COX-2 inhibitors ถึงร้อยละ 80 ส่วนใหญ่เป็นการสั่งใช้ใน ผู้ป่วยที่ไม่มีปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคระบบทางเดินอาหารจากการใช้ NSAIDs และพบการสั่งใช้ใน ผู้ป่วยโรคข้อเสื่อมที่มีปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดจากการใช้ NSAIDS 2024-06-25T07:03:03Z 2024-06-25T07:03:03Z 2019 Thesis http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19510 th Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ application/pdf มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์