การพัฒนาอุปกรณ์ตรวจวิเคราะห์แบบกระดาษร่วมกับอนุภาคนาโนทองเซนเซอร์แบบตรวจวัดสีสำหรับวิเคราะห์สารไซบูทรามีนในตัวอย่างผลิตภัณฑ์เสริมอาหารลดน้ำหนัก
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (นิติวิทยาศาสตร์), 2562
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
Prince of Songkla University
2024
|
Subjects: | |
Online Access: | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19517 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Prince of Songkhla University |
Language: | Thai |
id |
th-psu.2016-19517 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Prince of Songkhla University |
building |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
collection |
PSU Knowledge Bank |
language |
Thai |
topic |
การวิเคราะห์โดยการวัดสี ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร การตรวจวิเคราะห์ |
spellingShingle |
การวิเคราะห์โดยการวัดสี ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร การตรวจวิเคราะห์ สุนิสา พลอินทร์ การพัฒนาอุปกรณ์ตรวจวิเคราะห์แบบกระดาษร่วมกับอนุภาคนาโนทองเซนเซอร์แบบตรวจวัดสีสำหรับวิเคราะห์สารไซบูทรามีนในตัวอย่างผลิตภัณฑ์เสริมอาหารลดน้ำหนัก |
description |
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (นิติวิทยาศาสตร์), 2562 |
author2 |
อภิชัย พลชัย |
author_facet |
อภิชัย พลชัย สุนิสา พลอินทร์ |
format |
Theses and Dissertations |
author |
สุนิสา พลอินทร์ |
author_sort |
สุนิสา พลอินทร์ |
title |
การพัฒนาอุปกรณ์ตรวจวิเคราะห์แบบกระดาษร่วมกับอนุภาคนาโนทองเซนเซอร์แบบตรวจวัดสีสำหรับวิเคราะห์สารไซบูทรามีนในตัวอย่างผลิตภัณฑ์เสริมอาหารลดน้ำหนัก |
title_short |
การพัฒนาอุปกรณ์ตรวจวิเคราะห์แบบกระดาษร่วมกับอนุภาคนาโนทองเซนเซอร์แบบตรวจวัดสีสำหรับวิเคราะห์สารไซบูทรามีนในตัวอย่างผลิตภัณฑ์เสริมอาหารลดน้ำหนัก |
title_full |
การพัฒนาอุปกรณ์ตรวจวิเคราะห์แบบกระดาษร่วมกับอนุภาคนาโนทองเซนเซอร์แบบตรวจวัดสีสำหรับวิเคราะห์สารไซบูทรามีนในตัวอย่างผลิตภัณฑ์เสริมอาหารลดน้ำหนัก |
title_fullStr |
การพัฒนาอุปกรณ์ตรวจวิเคราะห์แบบกระดาษร่วมกับอนุภาคนาโนทองเซนเซอร์แบบตรวจวัดสีสำหรับวิเคราะห์สารไซบูทรามีนในตัวอย่างผลิตภัณฑ์เสริมอาหารลดน้ำหนัก |
title_full_unstemmed |
การพัฒนาอุปกรณ์ตรวจวิเคราะห์แบบกระดาษร่วมกับอนุภาคนาโนทองเซนเซอร์แบบตรวจวัดสีสำหรับวิเคราะห์สารไซบูทรามีนในตัวอย่างผลิตภัณฑ์เสริมอาหารลดน้ำหนัก |
title_sort |
การพัฒนาอุปกรณ์ตรวจวิเคราะห์แบบกระดาษร่วมกับอนุภาคนาโนทองเซนเซอร์แบบตรวจวัดสีสำหรับวิเคราะห์สารไซบูทรามีนในตัวอย่างผลิตภัณฑ์เสริมอาหารลดน้ำหนัก |
publisher |
Prince of Songkla University |
publishDate |
2024 |
url |
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19517 |
_version_ |
1803351766932127744 |
spelling |
th-psu.2016-195172024-06-25T07:51:22Z การพัฒนาอุปกรณ์ตรวจวิเคราะห์แบบกระดาษร่วมกับอนุภาคนาโนทองเซนเซอร์แบบตรวจวัดสีสำหรับวิเคราะห์สารไซบูทรามีนในตัวอย่างผลิตภัณฑ์เสริมอาหารลดน้ำหนัก Paper-Based Analytical Device based on Gold Nanoparticle Sensor for Colorimetric Detection of Sibutramine in adulterated Herbal Slimming Supplements สุนิสา พลอินทร์ อภิชัย พลชัย คณะวิทยาศาสตร์ ภาควิชาวิทยาศาสตร์ประยุกต์ Faculty of Science (Applied Science) การวิเคราะห์โดยการวัดสี ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร การตรวจวิเคราะห์ วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (นิติวิทยาศาสตร์), 2562 This work reports on the development of paper-based analytical device based on gold nanoparticle sensor for colorimetric detection of sibutramine in adulterated herbal slimming supplements. The determination of sibutramine is based on the aggregation of citrate-stabilized gold nanoparticles sensor induced by sibutramine present in the sample, resulting in the color of gold nanoparticles change from red to blue. The color change on a filter paper can be measured both by the naked eyes and a digital camera in 1 min. The morphology of the citrate- stabilized gold nanoparticles on paper-based analytical device was investigated using scanning electron microscopy (SEM) with energy dispersive X-ray analysis (EDX). Method development was investigated including sample and gold nanoparticle sensor ratio and interaction time. Under the optimized experiment conditions, a linear calibration curve for the sibutramine in the range of 30 to 100 μM (R2 = 0.9864) was obtained. Limit of detection (LOD) and limit quantification (LOQ) were 10 and 30 μM, respectively. The intra-day and inter-day precisions were 0.42-1.21% RSD and 1.27-2.27% RSD, respectively. The sample recovery of sibutramine analysis ranged from 94.67 to 112.41%. A paper-based analytical device can be stored for at least 3 months in a freezer (4 °C and -18 °C). The proposed method was applied for the determination of sibutramine in adulterated herbal slimming supplements samples. The developed method agreed well with the spectrophotometry method using the paired t-test (P > 0.05, n=3). This method is portable, cost-effective, sensitive and low-sample and reagent consumption. It can be used as an alternative method for the analysis of sibutramine which will be useful in the forensic investigation. ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สัญญาเลขที่ SCI6105945 งานวิจัยนี้ได้พัฒนาอุปกรณ์ตรวจวิเคราะห์แบบกระดาษร่วมกับอนุภาคนาโนทอง เซนเซอร์แบบตรวจวัดสีสําหรับวิเคราะห์สารไซบูทรามีนในตัวอย่างผลิตภัณฑ์เสริมอาหารลดน้ําหนัก โดยอาศัยการเกาะกลุ่มระหว่างไอออนของซิเตรทซึ่งมีความเป็นประจุลบที่ล้อมรอบพื้นผิวของอนุภาค นาโนทองกับสารไซบูทรามีน ทําให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสีจากสีแดงไวน์เป็นสีน้ําเงิน สามารถตรวจวัด ความเข้มสีได้ด้วยตาเปล่าและจากการถ่ายภาพด้วยกล้องถ่ายรูปใช้ระยะเวลาเพียง 1 นาที มี การศึกษาลักษณะทางสัณฐานวิทยาของอนุภาคนาโนทองที่ยึดเกาะบนกระดาษด้วยเทคนิคกล้อง จุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราดร่วมกับเทคนิคการวัดการกระจายพลังงานของรังสีเอกซ์ (scanning electron microscopy with energy dispersive X-ray analysis, SEM-EDX) ศึกษา สมรรถนะของอุปกรณ์ตรวจวิเคราะห์แบบกระดาษที่พัฒนาขึ้นภายใต้สภาวะที่เหมาะสม พบว่า มี ความเป็นเส้นตรงในช่วง 30 ถึง 100 ไมโครโมลาร์ โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ เท่ากับ 0.9864 มี ขีดจํากัดของการตรวจวัดและขีดจํากัดของการตรวจวัดเชิงปริมาณ เท่ากับ 10 และ 30 ไมโครโมลาร์ตามลําดับ ผลความเที่ยงของวิธีมีร้อยละค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานสัมพัทธ์ภายในวันเดียวกัน (intra-day) และภายในระหว่างวัน (inter-day) อยู่ในช่วง 0.42 ถึง 1.21 และ1.27 ถึง 2.27 เปอร์เซ็นต์ ตามลําดับ ผลของความแม่นของวิธีมีค่าร้อยละการได้กลับคืนอยู่ในช่วง 94.67 ถึง 112.41 เปอร์เซ็นต์ อนุภาคนาโนทองที่เคลือบบนกระดาษมีความเสถียรสามารถเก็บไว้ได้นานถึง 3 เดือนที่อุณหภูมิตู้เย็น (4 องศาเซลเซียส) และอุณหภูมิช่องแช่แข็ง (-18 องศาเซลเซียส) เมื่อนําอุปกรณ์ตรวจวิเคราะห์แบบ กระดาษที่พัฒนาขึ้นไปประยุกต์ใช้ในการตรวจวิเคราะห์สารไซบูทรามีนในตัวอย่างผลิตภัณฑ์ลด น้ําหนักจํานวน 7 ตัวอย่าง พบว่า มีค่าร้อยละการได้กลับคืนอยู่ในช่วง 85.46 ถึง 108.69 เปอร์เซ็นต์ และมีผลการวิเคราะห์เทียบเท่ากับวิธีมาตรฐานยูวี-วิสิเบิล สเปกโตรสโคปี (uv-visible spectroscopy) โดยไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ t-test ที่ช่วงความเชื่อมั่น 95% แสดงให้เห็นว่า อุปกรณ์ตรวจวิเคราะห์แบบกระดาษที่พัฒนาขึ้นมีความถูกต้อง แม่นยํา น่าเชื่อถือ พกพาได้ง่าย ราคาถูก มีความไวในการวิเคราะห์และใช้รีเอเจนต์ปริมาณน้อย สามารถนําไป ประยุกต์ใช้เป็นอีกทางเลือกหนึ่งสําหรับตรวจวัดสารไซบูทรามีนที่ลักลอบเจือปนในตัวอย่างผลิตภัณฑ์ เสริมอาหารลดน้ําหนัก เพื่อใช้เป็นพยานหลักฐานและข้อมูลสนับสนุนในการพิสูจน์การกระทําความผิดทางด้านนิติวิทยาศาสตร์ 2024-06-25T07:49:39Z 2024-06-25T07:49:39Z 2019 Thesis http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19517 th Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ application/pdf Prince of Songkla University |