การพัฒนาแบบวัดทักษะที่บ่งบอกความแตกฉานทางสุขภาพสำหรับคนไทย ตามวิธีการของ Health literacy skills instrument

วิทยานิพนธ์ (ภ.ม. (เภสัชศาสตร์สังคมและการบริหาร))--มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2562

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: พิชญกร วโรตมะกุล
Other Authors: สงวน ลือเกียรติบัณฑิต
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: 2024
Subjects:
Online Access:http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19528
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Prince of Songkhla University
Language: Thai
id th-psu.2016-19528
record_format dspace
institution Prince of Songkhla University
building Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
collection PSU Knowledge Bank
language Thai
topic เครื่องชี้ภาวะสุขภาพ
การตรวจสุขภาพ
spellingShingle เครื่องชี้ภาวะสุขภาพ
การตรวจสุขภาพ
พิชญกร วโรตมะกุล
การพัฒนาแบบวัดทักษะที่บ่งบอกความแตกฉานทางสุขภาพสำหรับคนไทย ตามวิธีการของ Health literacy skills instrument
description วิทยานิพนธ์ (ภ.ม. (เภสัชศาสตร์สังคมและการบริหาร))--มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2562
author2 สงวน ลือเกียรติบัณฑิต
author_facet สงวน ลือเกียรติบัณฑิต
พิชญกร วโรตมะกุล
format Theses and Dissertations
author พิชญกร วโรตมะกุล
author_sort พิชญกร วโรตมะกุล
title การพัฒนาแบบวัดทักษะที่บ่งบอกความแตกฉานทางสุขภาพสำหรับคนไทย ตามวิธีการของ Health literacy skills instrument
title_short การพัฒนาแบบวัดทักษะที่บ่งบอกความแตกฉานทางสุขภาพสำหรับคนไทย ตามวิธีการของ Health literacy skills instrument
title_full การพัฒนาแบบวัดทักษะที่บ่งบอกความแตกฉานทางสุขภาพสำหรับคนไทย ตามวิธีการของ Health literacy skills instrument
title_fullStr การพัฒนาแบบวัดทักษะที่บ่งบอกความแตกฉานทางสุขภาพสำหรับคนไทย ตามวิธีการของ Health literacy skills instrument
title_full_unstemmed การพัฒนาแบบวัดทักษะที่บ่งบอกความแตกฉานทางสุขภาพสำหรับคนไทย ตามวิธีการของ Health literacy skills instrument
title_sort การพัฒนาแบบวัดทักษะที่บ่งบอกความแตกฉานทางสุขภาพสำหรับคนไทย ตามวิธีการของ health literacy skills instrument
publishDate 2024
url http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19528
_version_ 1806509629571596288
spelling th-psu.2016-195282024-07-09T02:34:59Z การพัฒนาแบบวัดทักษะที่บ่งบอกความแตกฉานทางสุขภาพสำหรับคนไทย ตามวิธีการของ Health literacy skills instrument Development of a measure of health literacy skills for Thai based on the approach of the health literacy skills instrument พิชญกร วโรตมะกุล สงวน ลือเกียรติบัณฑิต Faculty of Pharmaceutical Sciences (Pharmacy Administration) คณะเภสัชศาสตร์ ภาควิชาบริหารเภสัชกิจ เครื่องชี้ภาวะสุขภาพ การตรวจสุขภาพ วิทยานิพนธ์ (ภ.ม. (เภสัชศาสตร์สังคมและการบริหาร))--มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2562 This study aimed to develop a reliable and valid measure called the Thai Health Literacy Skill Assessment (THLA-S) using the approach in the Health Literacy Skills Instrument (HLSI), and to determine the cut-off value to interpret the level of health literacy (HL). The initial scale consisted of 26 items. After revision according to the opinion of 6 experts, the THLA-S was tested with 522 accidentally selected outpatients and relatives in a hospital. The subjects completed the THLA-S questionnaires on various HL indicators, including Thai Health Literacy Assessment Using Nutrition Label (THLA-N). Item analysis found that less than 6 percent of subjects correctly answered the questions 24 (calculation using data from nutrition labels) and 26 (reading and calculation from bar graphs). The study therefore eliminated these question because of their poor discriminating ability on HL. While item 3 (understanding the information about cholesterol) exhibited a correlation of 0.199 with the total score of THLA-S and therefore was eliminated as well. The remaining 23 items of the THLA-S were consistent to the structure of the HLSI. The scale measured print literacy (10 items), document literacy (such as tables) (10 items), speaking-listening skills (4 items) and internet skills for seek information (2 items). The skills measured by the THLA-S included identification and understanding of health information (6 items), interpretation of health information (11 items), summarizing information or applying data to a particular situation (5 items), calculation (2 item) and using the internet to seek information (2 items). The content of the test consisted of 3 domains including health promotion-disease prevention (17 items), treatment and utilization of health services (5 items) and access to services in health systems (4 items). The THLA-S showed a satisfactory Cronbach's alpha of 0.815. The THLA-S measurement was valid because 1) those reporting that the performing of 6 activities (from all 8 activities) was easy or very easy (such as calculating numbers, remembering data, seeking information, etc.) had a higher level of the THLA-S score than those reporting the tasks as very difficult or difficult 2) those with a higher education levels showed a higher level of the THLA-S scores 3) the relationship of the THLA-S score and HL indicators was positive and statistically significant. The relationship between the THLA-S and self-assessment of ability to read, the ability to read measured by the cloze test, the ability to screening tests for inadequaete health literacy, the ability to use nutrition labels and the THLA-N were 0.336, 0.398, 0.156, 0.634 and 0.606, respectively. Analysis of the receiver operating characteristic curve using the THLA-N as a gold standard revealed that the THLA-S had an AUC of 0.838, indicating that the ability of the measurement to separate those with adequate and inadequate HL was at the moderate to high level. Those with the THLA-S score less than or equal to 13 were considered to have inadequate HL. At this cut-off, the scale had a sensitivity of 75.0 percent, specificity of 78.4 percent, PPV of 79.12 percent and NPV of 74.19 percent, with LR+ and LR- of 3.47 and 0.32 respectively. Overall, the scale is valid, reliable, sensitive, and specific with an accurate discriminating power of HL. However, the THLA-S still needs further improvement because of its lengthy number of items. การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาแบบวัดทักษะที่บ่งบอกความแตกฉานทาง สุขภาพสําหรับคนไทย (Thai Health Literacy Skill Assessment: THLA-S) ที่มีความตรงและ ความเที่ยง โดยใช้หลักการของ Health Literacy Skills Instrument (HLSI) และหาเกณฑ์แปล ผลระดับความแตกฉานทางสุขภาพ (health literacy: HL) ของแบบวัด การพัฒนาแบบวัดชุด เริ่มต้นมีจํานวน 26 ข้อ ซึ่งได้รับการปรับแก้ตามความเห็นของผู้เชี่ยวชาญทั้งหมด 6 ท่าน แบบ วัด THLA-S ได้ถูกนําไปทดสอบกับผู้ป่วยนอกและญาติ จํานวน 522 คนในโรงพยาบาลแห่ง หนึ่ง ผู้วิจัยใช้วิธีเลือกสุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ กลุ่มตัวอย่างดังกล่าวตอบแบบวัด THLA-S ด้วย ตนเอง ซึ่งแบบสอบถามนี้ใช้สําหรับวัดตัวแปรที่บ่งชี้ระดับของ HL และThai Health Literacy Assessment Using Nutrition Label (THLA-N) ผลลัพธ์จากการวิเคราะห์คําถามรายข้อพบว่า คําถามข้อ 24 (การคํานวณโดยใช้ข้อมูลจากฉลากโภชนาการ) และคําถามข้อ 26 (การอ่านและ คํานวณจากกราฟแท่ง) กลุ่มตัวอย่างน้อยกว่าร้อยละ 6 ตอบได้ถูกต้อง ดังนั้นผู้วิจัยจึงได้ตัด คําถามสองข้อนี้ออกเนื่องจากมีความสามารถในการจําแนกไม่ดี ส่วนกรณีคําถามข้อ 3 (การ เข้าใจข้อมูลเกี่ยวกับคอเลสเทอรอล) ได้ค่าสหสัมพันธ์กับคะแนนรวมของ THLA-S น้อย (r=0.199) จึงถูกตัดออกเช่นกัน คงเหลือแบบวัด THLA-s จํานวน 23 ข้อ แบบวัด THLA-S จํานวน 23 ข้อ มีโครงสร้างเสมือนแบบวัด HLSI ต้นฉบับ โดยแบบวัด THLA-S ใช้วัดทักษะเกี่ยวกับข้อความ (10 ข้อ) ทักษะเกี่ยวกับเอกสารที่ไม่ใช่ ข้อความ (เช่น ตาราง) (10 ข้อ) ทักษะด้านการพูด-ฟัง (4 ข้อ) และทักษะการใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อ แสวงหาข้อมูล (2 ข้อ) คําถามในแบบวัดประเมินการค้นหาและการเข้าใจข้อมูลเกี่ยวกับสุขภาพ (6 ข้อ) ประเมินการแปลความจากข้อมูลเกี่ยวกับสุขภาพ (11 ข้อ) การสรุปข้อมูลหรือ ประยุกต์ใช้ข้อมูลกับสถานการณ์หนึ่ง ๆ (5 ข้อ) การคํานวณ (2 ข้อ) และการใช้อินเทอร์เน็ตใน การแสวงหาข้อมูล (2 ข้อ) เนื้อหาของคําถามที่ใช้ทดสอบประกอบด้วย 3 ประเด็น คือ การสร้าง เสริมสุขภาพ-การป้องกันโรค (17 ข้อ) การรักษาและใช้บริการสาธารณสุข (5 ข้อ) และการ เข้าถึงบริการในระบบสุขภาพ (4 ข้อ) ผลลัพธ์จากการวิเคราะห์ความเที่ยงและความตรงของแบบวัด THLA-S ได้ค่า Cronbach's alpha เท่ากับ 0.815 ซึ่งถือว่า น่าพอใจ นอกจากนี้ยังมีความตรงเพราะ 1) ผู้ที่ ประเมินตนเองสามารถทํากิจกรรม 6 กิจกรรม (จากทั้งหมด 8 กิจกรรม) ให้คําตอบ อย่างง่าย หรือง่ายมาก (เช่น การคิดเลข การจดจําข้อมูล การแสวงหาข้อมูล ฯลฯ) ได้คะแนนรวมสูงกว่าผู้ ที่ตอบว่ายาก หรือยากมาก 2) ผู้ที่มีระดับการศึกษาสูงกว่าย่อมได้คะแนนมากกว่าเสมอ 3) ความสัมพันธ์ของคะแนนรวมเปรียบเทียบกับตัวชี้วัด HL เป็นบวกและมีนัยสําคัญทางสถิติ ประกอบด้วย การรับรู้ความสามารถของตนเอง ความสามารถในการอ่านจาก cloze test คะแนนจากแบบคัดกรองผู้มี HL ไม่เพียงพอ ความสามารถในการใช้ฉลากโภชนาการ และ THLA-N ได้ค่า 0.336, 0.398, 0.156, 0.634 และ 0.606 ตามลําดับ ผลลัพธ์จากการวิเคราะห์โค้ง receiver operating characteristic โดยใช้คะแนน จากแบบวัด THLA-N เป็น gold standard พบว่า THLA-s ได้ค่า AUC = 0.838 แสดงว่า แบบ วัดสามารถแยกผู้ที่มี HL พอ และไม่เพียงพอ ออกจากกันได้ดีปานกลางถึงดีมาก ผู้ที่ได้คะแนน THLA-S ที่น้อยกว่า หรือเท่ากับ 13 ถือว่ามี HL ไม่เพียงพอ ณ จุดตัดนี้ได้ค่าความไว ร้อยละ 75.0 ความจําเพาะ ร้อยละ 78.4 ค่า PPV ร้อยละ 79.12 ค่า NPV ร้อยละ 74.19 ค่า LR+ และ ค่า LR- ได้ค่า 3.47 และ 0.32 ตามลําดับ สรุปโดยรวม แบบวัด THLA-S มีความเที่ยง ความตรง ความไว ความจําเพาะ และความสามารถในการจําแนกระดับ HL ได้ดีเป็นที่น่าพอใจ อย่างไรก็ ตาม แบบวัดที่ได้นี้จําเป็นต้องพัฒนาต่อเนื่อง เพราะว่าแบบวัดมีจํานวนคําถามมาก 2024-07-09T02:34:58Z 2024-07-09T02:34:58Z 2019 Thesis http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19528 th Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ application/pdf