รูปแบบการเจริญและการผลิตสารพฤกษเคมีจากการเพาะเลี้ยงลำต้นใต้ใบเลี้ยงของทุเรียนเทศ (Annona muricata L.)

วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (พฤกษศาสตร์), 2562

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: อภิญญา บุญคุ้ม
Other Authors: อุปถัมภ์ มีสวัสดิ์
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 2024
Subjects:
Online Access:http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19571
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Prince of Songkhla University
Language: Thai
id th-psu.2016-19571
record_format dspace
spelling th-psu.2016-195712024-07-25T07:26:12Z รูปแบบการเจริญและการผลิตสารพฤกษเคมีจากการเพาะเลี้ยงลำต้นใต้ใบเลี้ยงของทุเรียนเทศ (Annona muricata L.) Developmental Pattern and Phytochemical Production from Hypocotyl Culture of Soursop (Annona muricata L.) อภิญญา บุญคุ้ม อุปถัมภ์ มีสวัสดิ์ Faculty of Science (Biology) คณะวิทยาศาสตร์ ภาควิชาชีววิทยา ทุเรียนเทศ พืชวงศ์กระดังงา วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (พฤกษศาสตร์), 2562 Soursop (Annona muricata L.) which belongs to the Annonaceae family has some important phytochemical substances, especially annonaceous acetogenins (ACGs) with anti-tumor activity. Therefore, this plant has received attention for many researchers. Plant growth regulators affecting in vitro morphogenesis, detection of ACGs and fats, and the presence of calcium oxalate crystals were examined. The transverse thin cell layer (tTCL) explants excised from hypocotyls of in vitro germinated seedlings were cultured on Murashige and Skoog (MS) medium containing 2, 4- dichlorophenoxyacetic acid (2, 4-D) (0, 2 and 4 mg/L) in combination with 6- benzyladenine (BA) (0, 1, 2, 3 and 4 mg/L) and indole-3-butyric acid (IBA) (0, 0.5 and 1 mg/L) in combination with 6-benzyladenine (BA) (0, 1, 2, 3 and 4 mg/L). The results showed that MS medium containing 0.5 mg/L IBA and 3 mg/L BA was the most suitable medium for induction of light green friable callus. The MS medium supplemented with 1 mg/L IBA alone gave the highest percentage of shoot formation (60.00±17.72). The shoots were rooted and grew well after culture on MS medium supplemented with 1 mg/L IBA for 32 weeks. The ACGs detected by Kedd's reagent were found in the subspherical idioblasts appearing at all position of the 1st, 3rd and 8th leaves from both nature and in vitro induced shoots. Unfortunately, ACGs were absent in callus. Fat body accumulation was observed in callus from natural leaves and leaves of in vitro induced shoots. However, calcium oxalate crystals were found only in the natural leaves. ทุเรียนเทศ (Annona muricata L.) เป็นพืชในวงศ์ Annonaceae มีสารพฤกษเคมี ที่สําคัญ เช่น สารกลุ่มแอนโนเนเซียส อะซิโตเจนิน (Annonaceous acetogenins, ACGs) ที่มีฤทธิ์ ในการต้านมะเร็ง จึงเป็นพืชที่ได้รับความสนใจจากนักวิจัย ได้ศึกษาผลของสารควบคุมการเจริญเติบ โตต่อการเปลี่ยนแปลงทางสัณฐานในหลอดทดลองรวมถึงตรวจสอบสารอะซิโตเจนิน ไขมัน และผลึก แคลเซียมออกซาเลต โดยนําชิ้นส่วนบางตัดตามขวางลําต้นใต้ใบเลี้ยง (Hypocotyl) ของทุเรียนเทศใน หลอดทดลองอายุ 5 สัปดาห์ วางเลี้ยงบนอาหารวันสูตร Murashige and Skoog (MS) ที่เติม 2, 4- dichlorophenoxyacetic acid (2, 4-D) (ความเข้มข้น 0, 2 และ 4 มก./ล.) ร่วมกับ 6-benzyl adenine (BA) (ความเข้มข้น 0, 1, 2, 3 และ 4 มก./ล.) และอาหารสูตร MS ที่มี Indole-3-butyric acid (IBA) (ความเข้มข้น 0, 0.5 และ 1 มก./ล.) ร่วมกับ BA (ความเข้มข้น 0, 1, 2, 3 และ 4 มก./ล.) พบว่า อาหารสูตร MS ที่มี IBA 0.5 มก./ล. ร่วมกับ BA 3 มก./ล. เหมาะสมต่อการชักนําแคลลัสมาก ที่สุด เนื่องจากให้แคลลัสที่มีสีเขียวอ่อนและเกาะกันหลวม ขณะที่อาหารสูตร MS ที่มี IBA 1 มก./ล. เพียงอย่างเดียว ให้เปอร์เซ็นต์การชักนํายอดสูงสุด (60.00-17.72) เมื่อนําส่วนยอดที่ได้ย้ายเลี้ยงใน อาหารสูตรเดิมที่มี IBA 1 มก./ล. เป็นเวลา 32 สัปดาห์ พบว่าส่วนยอดที่ได้มีการพัฒนาของรากและ เจริญเป็นต้นที่สมบูรณ์ จากการตรวจสอบสารกลุ่มอะซิโตเจนินด้วย เคดด์ รีเอเจนต์ (Kedd's reagent) พบสารดังกล่าวในโครงสร้าง Subspherical idioblast ในใบจากธรรมชาติทุกตําแหน่งของใบ (1, 3 และ 8) และในใบที่ได้จากการชักนํายอดในหลอดทดลอง แต่ไม่พบในแคลลัส นอกจากนี้พบการสะสมไขมันในใบจากธรรมชาติ ใบที่ได้จากการชักนํายอดและในแคลลัส สําหรับ ผลึกแคลเซียมออกซาเลตพบเฉพาะในใบธรรมชาติ แต่ไม่พบในใบที่ได้จากการชักนํายอดและในแคลลัส 2024-07-25T07:26:11Z 2024-07-25T07:26:11Z 2019 Thesis http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19571 th Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ application/pdf มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
institution Prince of Songkhla University
building Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
collection PSU Knowledge Bank
language Thai
topic ทุเรียนเทศ
พืชวงศ์กระดังงา
spellingShingle ทุเรียนเทศ
พืชวงศ์กระดังงา
อภิญญา บุญคุ้ม
รูปแบบการเจริญและการผลิตสารพฤกษเคมีจากการเพาะเลี้ยงลำต้นใต้ใบเลี้ยงของทุเรียนเทศ (Annona muricata L.)
description วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (พฤกษศาสตร์), 2562
author2 อุปถัมภ์ มีสวัสดิ์
author_facet อุปถัมภ์ มีสวัสดิ์
อภิญญา บุญคุ้ม
format Theses and Dissertations
author อภิญญา บุญคุ้ม
author_sort อภิญญา บุญคุ้ม
title รูปแบบการเจริญและการผลิตสารพฤกษเคมีจากการเพาะเลี้ยงลำต้นใต้ใบเลี้ยงของทุเรียนเทศ (Annona muricata L.)
title_short รูปแบบการเจริญและการผลิตสารพฤกษเคมีจากการเพาะเลี้ยงลำต้นใต้ใบเลี้ยงของทุเรียนเทศ (Annona muricata L.)
title_full รูปแบบการเจริญและการผลิตสารพฤกษเคมีจากการเพาะเลี้ยงลำต้นใต้ใบเลี้ยงของทุเรียนเทศ (Annona muricata L.)
title_fullStr รูปแบบการเจริญและการผลิตสารพฤกษเคมีจากการเพาะเลี้ยงลำต้นใต้ใบเลี้ยงของทุเรียนเทศ (Annona muricata L.)
title_full_unstemmed รูปแบบการเจริญและการผลิตสารพฤกษเคมีจากการเพาะเลี้ยงลำต้นใต้ใบเลี้ยงของทุเรียนเทศ (Annona muricata L.)
title_sort รูปแบบการเจริญและการผลิตสารพฤกษเคมีจากการเพาะเลี้ยงลำต้นใต้ใบเลี้ยงของทุเรียนเทศ (annona muricata l.)
publisher มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
publishDate 2024
url http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19571
_version_ 1806509645031800832