ผลของการให้ข้อมูลผ่านทางโมบายแอปพลิเคชันต่อความวิตกกังวลของมารดาผู้ป่วยเด็กระยะที่อยู่ในหอผู้ป่วยวิกฤตเด็กและเตรียมย้ายออกจากหอผู่ป่วยวิกฤตเด็ก
Master of Nursing Science (Pediatric Nursing), 2019
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
2024
|
Subjects: | |
Online Access: | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19578 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Prince of Songkhla University |
Language: | Thai |
id |
th-psu.2016-19578 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Prince of Songkhla University |
building |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
collection |
PSU Knowledge Bank |
language |
Thai |
topic |
ความวิตกกังวล โปรแกรมประยุกต์บนอุปกรณ์เคลื่อนที่ มะเร็งในเด็ก สุราษฎร์ธานี เยื่อบุช่องปาก โรค สุราษฎร์ธานี |
spellingShingle |
ความวิตกกังวล โปรแกรมประยุกต์บนอุปกรณ์เคลื่อนที่ มะเร็งในเด็ก สุราษฎร์ธานี เยื่อบุช่องปาก โรค สุราษฎร์ธานี ปิ่นสุดา สังฆะโณ ผลของการให้ข้อมูลผ่านทางโมบายแอปพลิเคชันต่อความวิตกกังวลของมารดาผู้ป่วยเด็กระยะที่อยู่ในหอผู้ป่วยวิกฤตเด็กและเตรียมย้ายออกจากหอผู่ป่วยวิกฤตเด็ก |
description |
Master of Nursing Science (Pediatric Nursing), 2019 |
author2 |
บุษกร พันธ์เมธาฤทธิ์ |
author_facet |
บุษกร พันธ์เมธาฤทธิ์ ปิ่นสุดา สังฆะโณ |
format |
Theses and Dissertations |
author |
ปิ่นสุดา สังฆะโณ |
author_sort |
ปิ่นสุดา สังฆะโณ |
title |
ผลของการให้ข้อมูลผ่านทางโมบายแอปพลิเคชันต่อความวิตกกังวลของมารดาผู้ป่วยเด็กระยะที่อยู่ในหอผู้ป่วยวิกฤตเด็กและเตรียมย้ายออกจากหอผู่ป่วยวิกฤตเด็ก |
title_short |
ผลของการให้ข้อมูลผ่านทางโมบายแอปพลิเคชันต่อความวิตกกังวลของมารดาผู้ป่วยเด็กระยะที่อยู่ในหอผู้ป่วยวิกฤตเด็กและเตรียมย้ายออกจากหอผู่ป่วยวิกฤตเด็ก |
title_full |
ผลของการให้ข้อมูลผ่านทางโมบายแอปพลิเคชันต่อความวิตกกังวลของมารดาผู้ป่วยเด็กระยะที่อยู่ในหอผู้ป่วยวิกฤตเด็กและเตรียมย้ายออกจากหอผู่ป่วยวิกฤตเด็ก |
title_fullStr |
ผลของการให้ข้อมูลผ่านทางโมบายแอปพลิเคชันต่อความวิตกกังวลของมารดาผู้ป่วยเด็กระยะที่อยู่ในหอผู้ป่วยวิกฤตเด็กและเตรียมย้ายออกจากหอผู่ป่วยวิกฤตเด็ก |
title_full_unstemmed |
ผลของการให้ข้อมูลผ่านทางโมบายแอปพลิเคชันต่อความวิตกกังวลของมารดาผู้ป่วยเด็กระยะที่อยู่ในหอผู้ป่วยวิกฤตเด็กและเตรียมย้ายออกจากหอผู่ป่วยวิกฤตเด็ก |
title_sort |
ผลของการให้ข้อมูลผ่านทางโมบายแอปพลิเคชันต่อความวิตกกังวลของมารดาผู้ป่วยเด็กระยะที่อยู่ในหอผู้ป่วยวิกฤตเด็กและเตรียมย้ายออกจากหอผู่ป่วยวิกฤตเด็ก |
publisher |
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |
publishDate |
2024 |
url |
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19578 |
_version_ |
1806509646826962944 |
spelling |
th-psu.2016-195782024-07-25T08:09:02Z ผลของการให้ข้อมูลผ่านทางโมบายแอปพลิเคชันต่อความวิตกกังวลของมารดาผู้ป่วยเด็กระยะที่อยู่ในหอผู้ป่วยวิกฤตเด็กและเตรียมย้ายออกจากหอผู่ป่วยวิกฤตเด็ก Effect of Information Provision via Mobile Application on Anxiety of Mothers Having Sick Children Admitted in a pediatric Intensive Care Unit and preparation for Transferring from a pediatric Intensive Care ปิ่นสุดา สังฆะโณ บุษกร พันธ์เมธาฤทธิ์ Faculty of Nursing (Pediatric Nursing) คณะพยาบาลศาสตร์ ภาควิชาการพยาบาลกุมารเวชศาสตร์ ความวิตกกังวล โปรแกรมประยุกต์บนอุปกรณ์เคลื่อนที่ มะเร็งในเด็ก สุราษฎร์ธานี เยื่อบุช่องปาก โรค สุราษฎร์ธานี Master of Nursing Science (Pediatric Nursing), 2019 The purpose of this quasi-experimental, two-group, pre-posttest control group study was to determine the effect of information provision via mobile application on anxiety of mothers having sick children admitted in a pediatric intensive care unit and preparation for transferring from a pediatric intensive care unit. The sample consisted of mothers having sick children admitted in the pediatric intensive care unit at Hatyai Hospital. Purposive sampling was used to select subjects. Data collection was first conducted in the control group (n = 30) and then in the experimental group (n= 30). The control group received routine information. The experimental group received information via mobile application and routine information. Data were collected using questionnaires covering (1) demographic data, (2) the anxiety of mothers having children admitted in a pediatric intensive care unit, and (3) the anxiety of mothers during preparation for transfer from a pediatric intensive care unit. All questionnaires were test for content validity by three experts. Questionnaires 2 and 3 were tested for reliability yielding Cronbach's alpha coefficient of .88 and .94, respectively. Data were analyzed using descriptive statistics, Chi-square test and t-test. The results revealed that 1. The mean scores of anxiety of mothers having sick children admitted in the pediatric intensive care unit in the control and experimental groups after experiment were significantly lower than those of before experiment (t t = 12.38, p = .000, respectively). = 4.89, p = .000; 2. The mean score of anxiety of mothers having sick children admitted in the pediatric intensive care unit after experiment in the experimental group was significantly lower than that of the control group (t = 7.54, p = .000). 3. The mean scores of anxiety of mothers, during preparation for transferring from the pediatric intensive care unit in the experimental and control groups, after experiment were significantly lower than those of before experiment (t p = .001; t = 18.44, p = .000 respectively). = 3.83, 4. The mean score of anxiety of mothers, during preparation for transferring from the pediatric intensive care unit, after experiment in the experimental group was significantly lower than that of the control group (t = 9.42, p = .000). Nurses in the pediatric intensive care unit can use the mobile application of information provision to reduce anxiety of mothers having sick children during admission in the pediatric intensive care unit and during preparation for transferring from the pediatric intensive care unit. การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง แบบ 2 กลุ่ม วัดก่อน-หลัง มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลของการให้ข้อมูลผ่านทางโมบายแอปพลิเคชันต่อความวิตกกังวลของมารดาผู้ป่วยเด็กระยะที่อยู่ในหอผู้ป่วยวิกฤตเด็กและระยะเตรียมย้ายออกจากหอผู้ป่วยวิกฤตเด็ก กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษาคือ มารดา ผู้ป่วยเด็กวิกฤตที่ได้รับการรักษาในหอผู้ป่วยวิกฤตเด็ก โรงพยาบาลหาดใหญ่ คัดเลือกกลุ่มตัวอย่าง แบบเฉพาะเจาะจงตามคุณสมบัติที่กําหนด ทําการเก็บข้อมูลครั้งแรกในกลุ่มควบคุมก่อน แล้วจึงทํา การเก็บข้อมูลในกลุ่มทดลอง กลุ่มละ 30 ราย กลุ่มควบคุมได้รับข้อมูลตามปกติ กลุ่มทดลองได้รับการ ให้ข้อมูลผ่านทางโมบายแอปพลิเคชันร่วมกับการได้รับข้อมูลตามปกติ เก็บข้อมูลโดยใช้ (1) แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล (2) แบบประเมินความวิตกกังวลของมารดาผู้ป่วยเด็กระยะที่อยู่ใน หอผู้ป่วยวิกฤตเด็ก และ (3) แบบประเมินความวิตกกังวลของมารดาผู้ป่วยเด็กในระยะเตรียมย้ายออก จากหอผู้ป่วยวิกฤตเด็ก ซึ่งได้ผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ 3 ท่าน และ ทดสอบความเที่ยงของเครื่องมือ ได้ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาคของแบบประเมินที่ 2 และ 3 เท่ากับ .88 และ 94 ตามลําดับ วิเคราะห์และนําเสนอข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยาย สถิติไคสแควร์ และสถิติที ผลการวิจัยพบว่า 1. คะแนนเฉลี่ยความวิตกกังวลหลังการทดลองของมารดาในกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลอง ระยะที่อยู่ในหอผู้ป่วยวิกฤตเด็กต่ํากว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (t = 4.89, p = .000, t = 12.38, p = .000 ตามลําดับ) 2. คะแนนเฉลี่ยความวิตกกังวลหลังการทดลองของมารดาในกลุ่มทดลองระยะที่อยู่ในหอ ผู้ป่วยวิกฤตเด็กต่ํากว่ามารดาในกลุ่มควบคุมที่อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (t = 7.54, p = .000) 3. คะแนนเฉลี่ยความวิตกกังวลหลังการทดลองของมารดาในกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลอง ระยะเตรียมย้ายออกจากหอผู้ป่วยวิกฤตเด็กต่ํากว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (t = 3.83, p = .001, t = 18.44, p = .000 ตามลําดับ) 4. คะแนนเฉลี่ยความวิตกกังวลหลังการทดลองของมารดาในกลุ่มทดลองระยะเตรียมย้าย ออกจากหอผู้ป่วยวิกฤตเด็กต่ํากว่ามารดาในกลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (t = 9.42, p = .000) ผลการศึกษาครั้งนี้ พยาบาลหอผู้ป่วยวิกฤตเด็กสามารถนําโมบายแอปพลิเคชันในการให้ ข้อมูลไปใช้เพื่อลดความวิตกกังวลในมารดาผู้ป่วยเด็กระยะที่อยู่ในหอผู้ป่วยวิกฤตเด็กและระยะเตรียม ย้ายออกจากหอผู้ป่วยวิกฤตเด็กได้ 2024-07-25T08:09:02Z 2024-07-25T08:09:02Z 2019 Thesis http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19578 th application/pdf มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |