การเตรียมและสมบัติของพอลิยูรีเทนอิลาสโตเมอร์ซ่อมแชมตัวเองผ่านการผันกลับได้ ของพันธะไดซัลไฟด์
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (เทคโนโลยียาง), 2562
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
2024
|
Subjects: | |
Online Access: | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19600 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Prince of Songkhla University |
Language: | Thai |
id |
th-psu.2016-19600 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-psu.2016-196002024-07-26T07:13:47Z การเตรียมและสมบัติของพอลิยูรีเทนอิลาสโตเมอร์ซ่อมแชมตัวเองผ่านการผันกลับได้ ของพันธะไดซัลไฟด์ Preparation and Properties of Reversible Disulfide Bond-Based Self-Healing Polyurethane Elastomer สุธาทิพย์ ศรีชุมพวง วรรณรัตน์ เชื่องชยะพันธุ์ Faculty of Science and Industrial Technology คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม โพลิยูริเธน วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (เทคโนโลยียาง), 2562 Preparation and properties of polyurethane elastomers containing disulfide bonds in the main chain were investigated. 4,4'-methylene bis(cyclohexyl isocyanate) (HMDI) was used as initial isocyanate substance. The parameters including, (1) the influence of polytetrahydrofuran (polyTHF):1,4-butanediol(BDO) (THF:BDO) molar ratio, (2) the influence of 1,4-butanediol and hydroxyethyl disulfide (HEDS) (BDO:HEDS) molar ratio, (3) the influence of chain extender types (ie., BDO; HEDS and 3,3- dihydroxydiphenyl disulfide, DPS) and (4) the influence of polyol types (i.e., polytetrahydrofuran, polyTHF; polyethylene glycol, PEG; and hydroxyl terminated natural rubber, HTNR), on polyurethane properties were studied. The chemical structure of polyurethane was confirmed by Fourier transform infrared spectrometer (FT-IR) and Raman spectra analysis (FT-Raman). In addition, the mechanical, dynamic mechanical, thermal properties and self-healing efficiency of polyurethanes were evaluated. The results showed that molar ratio of polyTHF:BDO at 1:1 provided the highest tensile strength. Self-healing polyurethanes were successfully prepared by using HEDS and DPS as chain extender via the chain exchange reaction of disulfide bonds and shape memory effect. 90.64% self-healing efficiency of the polyurethane was obtained by using HMDI:polyTHF:BDO:DPS molar ratio of 2.05:1:0.5: 0.5 after healing at 65°C for 4 h. งานวิจัยนี้เป็นการเตรียมและศึกษาสมบัติของพอลิยูรีเทนที่มีพันธะไดซัลไฟด์อยู่ในสายโซ่โมเลกุลหลัก โดยใช้ 4,4-เมทิลีนบิสไซโครเฮกซิลไอโซไซยาเนต (4,4-Methylene bis (cyclohexyl isocyanate), HMDI) เป็นสารตั้งต้นไอโซไซยาเนต ปัจจัยที่ศึกษาคือ (1) อิทธิพลของสัดส่วน พอลิออล พอลิเตตระไฮโดรฟูแรนไดออล (Polytetrahydrofuran, polyTHF) ต่อตัวขยายสายโซ่ 14- บิวเทนไดออล (1,4-Butanediol, BDO) (2) อิทธิพลของสัดส่วนของตัวขยายสายโซ่ระหว่าง BDO และไฮดรอกซีเอทิลไดซัลไฟด์ (Hydroxyethyl disulfide, HEDS) (3) อิทธิพลของชนิดตัวขยายสาย โซ่ 3 ชนิด คือ BDO, HEDS และ 3,3-ไดไฮดรอกซีได้ฟินิลไดซัลไฟด์ (3,3-Dihydroxydiphenyl disulfide, DPS) (4) อิทธิพลของชนิดพอลิออล 3 ชนิด คือ พอลิเตตระไฮโดรฟเรน (Polytetrahydrofuran: polyTHF) พอลิเอธิลีนไกลคอล (Polyethylene glycol: PEG) และยาง ธรรมชาติไฮดรอกซิล (Hydroxyl terminated natural rubber. HTNR) ยืนยันโครงสร้างของพอลิยู รีเทนที่เตรียมได้ด้วยเทคนิคฟูเรียร์ทรานสฟอร์มอินฟราเรดสเปกโตรมิเตอร์ (Fourier Transforminfrared Spectrometer, FT-IR) และศึกษาโครงสร้างของพอลิยูรีเทนด้วยเทคนิคการ วิเคราะห์รามานสเปคตรา (Raman spectra analysis, FT-Raman) ทดสอบสมบัติความต้านทานต่อ แรงดึง สมบัติเชิงกลพลวัตด้วยเทคนิคการวิเคราะห์สมบัติเชิงกลพลวัต (Dynamic mechanical analyzer, DMA) สมบัติทางความร้อนด้วยเทคนิควิเคราะห์การสลายตัวทางความร้อน (Thermal gravimetric analysis, TGA) และทดสอบประสิทธิภาพการซ่อมแซมตัวเอง ผลการทดลองพบว่า ปริมาณของพอลิออล (PolyTHF) ต่อตัวขยายสายโซ่ (BDO) เท่ากับ 1:1 โดยโมล จะให้สมบัติความ ต้านทานต่อแรงดึงดีที่สุด และพบว่าการใช้ตัวขยายสายโซ่ HEDS และ DPS เกิดการซ่อมแซมตัวเอง เกิดขึ้น โดยผลของประสิทธิภาพการซ่อมแซมตัวเองเกิดผ่านพันธะไดซัลไฟด์และผลจากการจํารูปร่าง โดยพอลิยูรีเทนที่สังเคราะห์ที่ใช้สารตั้งต้น HMD:polyTHE:BDO:HEDS ในสัดส่วน 2.05:10.5:0.5 โดยโมล มีประสิทธิภาพการซ่อมแซมตัวเองเท่ากับ 90.64% ที่อุณหภูมิการซ่อมแซมตัวเอง 65 °C เป็นระยะเวลา 4 h 2024-07-26T07:13:47Z 2024-07-26T07:13:47Z 2019 Thesis http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19600 th application/pdf มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |
institution |
Prince of Songkhla University |
building |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
collection |
PSU Knowledge Bank |
language |
Thai |
topic |
โพลิยูริเธน |
spellingShingle |
โพลิยูริเธน สุธาทิพย์ ศรีชุมพวง การเตรียมและสมบัติของพอลิยูรีเทนอิลาสโตเมอร์ซ่อมแชมตัวเองผ่านการผันกลับได้ ของพันธะไดซัลไฟด์ |
description |
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (เทคโนโลยียาง), 2562 |
author2 |
วรรณรัตน์ เชื่องชยะพันธุ์ |
author_facet |
วรรณรัตน์ เชื่องชยะพันธุ์ สุธาทิพย์ ศรีชุมพวง |
format |
Theses and Dissertations |
author |
สุธาทิพย์ ศรีชุมพวง |
author_sort |
สุธาทิพย์ ศรีชุมพวง |
title |
การเตรียมและสมบัติของพอลิยูรีเทนอิลาสโตเมอร์ซ่อมแชมตัวเองผ่านการผันกลับได้ ของพันธะไดซัลไฟด์ |
title_short |
การเตรียมและสมบัติของพอลิยูรีเทนอิลาสโตเมอร์ซ่อมแชมตัวเองผ่านการผันกลับได้ ของพันธะไดซัลไฟด์ |
title_full |
การเตรียมและสมบัติของพอลิยูรีเทนอิลาสโตเมอร์ซ่อมแชมตัวเองผ่านการผันกลับได้ ของพันธะไดซัลไฟด์ |
title_fullStr |
การเตรียมและสมบัติของพอลิยูรีเทนอิลาสโตเมอร์ซ่อมแชมตัวเองผ่านการผันกลับได้ ของพันธะไดซัลไฟด์ |
title_full_unstemmed |
การเตรียมและสมบัติของพอลิยูรีเทนอิลาสโตเมอร์ซ่อมแชมตัวเองผ่านการผันกลับได้ ของพันธะไดซัลไฟด์ |
title_sort |
การเตรียมและสมบัติของพอลิยูรีเทนอิลาสโตเมอร์ซ่อมแชมตัวเองผ่านการผันกลับได้ ของพันธะไดซัลไฟด์ |
publisher |
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |
publishDate |
2024 |
url |
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19600 |
_version_ |
1806509652239712256 |