สถานะและโพแทสเซียมบัฟเฟอร์ในดินปลูกยางพาราในภาคใต้ของประเทศไทย

วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการทรัพยากรดิน), 2566

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: อารีรัตน์ ชูเมฆา
Other Authors: จักรกฤษณ์ พูนภักดี
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 2024
Subjects:
Online Access:http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19605
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Prince of Songkhla University
Language: Thai
id th-psu.2016-19605
record_format dspace
institution Prince of Songkhla University
building Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
collection PSU Knowledge Bank
language Thai
topic การตรึงและปลดปล่อยโพแทสเซียม
การต้านทานโพแทสเซียม
การสกัดแบบลำดับขั้น
ยางพาราภาคใต้
spellingShingle การตรึงและปลดปล่อยโพแทสเซียม
การต้านทานโพแทสเซียม
การสกัดแบบลำดับขั้น
ยางพาราภาคใต้
อารีรัตน์ ชูเมฆา
สถานะและโพแทสเซียมบัฟเฟอร์ในดินปลูกยางพาราในภาคใต้ของประเทศไทย
description วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการทรัพยากรดิน), 2566
author2 จักรกฤษณ์ พูนภักดี
author_facet จักรกฤษณ์ พูนภักดี
อารีรัตน์ ชูเมฆา
format Theses and Dissertations
author อารีรัตน์ ชูเมฆา
author_sort อารีรัตน์ ชูเมฆา
title สถานะและโพแทสเซียมบัฟเฟอร์ในดินปลูกยางพาราในภาคใต้ของประเทศไทย
title_short สถานะและโพแทสเซียมบัฟเฟอร์ในดินปลูกยางพาราในภาคใต้ของประเทศไทย
title_full สถานะและโพแทสเซียมบัฟเฟอร์ในดินปลูกยางพาราในภาคใต้ของประเทศไทย
title_fullStr สถานะและโพแทสเซียมบัฟเฟอร์ในดินปลูกยางพาราในภาคใต้ของประเทศไทย
title_full_unstemmed สถานะและโพแทสเซียมบัฟเฟอร์ในดินปลูกยางพาราในภาคใต้ของประเทศไทย
title_sort สถานะและโพแทสเซียมบัฟเฟอร์ในดินปลูกยางพาราในภาคใต้ของประเทศไทย
publisher มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
publishDate 2024
url http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19605
_version_ 1816860173783793664
spelling th-psu.2016-196052024-11-06T07:56:28Z สถานะและโพแทสเซียมบัฟเฟอร์ในดินปลูกยางพาราในภาคใต้ของประเทศไทย Status and Buffering Potassium in Rubber Growing Soils in Southern Thailand อารีรัตน์ ชูเมฆา จักรกฤษณ์ พูนภักดี Faculty of Natural Resources (Earth Science) คณะทรัพยากรธรรมชาติ ภาควิชาธรณีศาสตร์ การตรึงและปลดปล่อยโพแทสเซียม การต้านทานโพแทสเซียม การสกัดแบบลำดับขั้น ยางพาราภาคใต้ วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการทรัพยากรดิน), 2566 The soils in southern Thailand have low content of available K. The availability of soil K depends on the K speciation, K fixation, K release, and soil properties. The objectives of this study were 1) to compare soil K speciation based on its bioavailability (single leaching extraction; SLE) and sequential extraction process (SEP), 2) to assess the K buffer capacity in rubber growing soils, and 3) to investigate the K transformation in soil and soil K translocation in soil to plant. Soil profiles were selected different textural groups as follows; coarse, medium and fine texture. Soil K speciation was investigated by SLE and SEP and correlation with soil properties. K fixation, K release, and soil K transformation after rubber budding grown were evaluated. The results showed that the concentration of soil K speciation was high in fine > medium > coarse soil textural groups. Soil K speciation obtained by SLE and SEP not only exhibited a strong positive correlation with organic matter, cation exchange capacity, and clay particles, but also exhibited a high degree of correlation among themselves. The summation of Exch-K and Car-K was highly correlated with NH4OAc-K (r2=0.94). Moreover, the summation of Oxide-K and OM-K was highly correlated with Fixed-K (r2=0.84), and Res-K was highly correlated with Min-K (r2=0.83). K fixation was highest in fine textural soil. In all textural groups, the buffering coefficient for K (BCK ) was 0.7-0.8. Therefore, 70-80% of K applied were in Sol-K and Exch-K, while 20-30% was fixed in the soil. Rubber plantation soils were low K release potential. Fine soil texture had higher K fixation and release capacity than medium and coarse, respectively. K fertilizer application in soils promoted plant growth, and increased K and N uptake. While, high dosages of K fertilizer application inhibited Ca and Mg uptake in plant. Soil K speciation after rubber budding grown was high in Res-K > Exch-K > Car-K > Oxide-K > OM-K. The concentration of Exch-K and Car-K increased. Therefore, SEP can be used to evaluate availability K as SLE. Rubber plantation in southern Thailand, the combination of K fertilizer and organic fertilizer should be applied for soil K sufficiency level for rubber trees requirement. ดินปลูกยางในภาคใต้มีโพแทสเซียม (K) ที่เป็นประโยชน์ต่ำ โดยความเป็นประโยชน์ของ K ขึ้นอยู่กับรูปของ K ในดิน ความสามารถในการตรึงและปลดปล่อย K ในดิน รวมทั้งสมบัติต่าง ๆ ของ ดิน งานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อเปรียบเทียบรูปของ K ในดินที่ถูกแบ่งตามความเป็นประโยชน์ ต่อพืช (single leaching extraction (SLE) และการสกัดแบบตามลำดับขั้น (sequential extraction process; SEP) 2) เพื่อประเมินความจุบัฟเฟอร์ในดินปลูกยางพารา และ 3) เพื่อศึกษาการ เปลี่ยนแปลงรูปของ K ในดินและการเคลื่อนย้าย K จากดินสู่พืชโดยเก็บดินปลูกยางพาราในภาคใต้ ตามกลุ่มเนื้อดิน คือ หยาบ ปานกลาง และละเอียด นำมาศึกษารูป K และความเข้มข้นของ K ตามวิธี SLE และ SEP รวมทั้งหาความสัมพันธ์กับสมบัติดิน จากนั้นนำไปศึกษาการตรึงและการปลดปล่อย K ตลอดจนการเปลี่ยนแปลงรูป K ในดินเมื่อปลูกกล้ายางพารา ผลการศึกษา พบว่า ความเข้มข้นของ K รูปต่าง ๆ ในดินมีค่าสูงในดินเนื้อละเอียด > ดินเนื้อปานกลาง > ดินเนื้อหยาบ รูปของ K ที่สกัดด้วย วิธี SLE และ SEP ไม่เพียงแต่มีความสัมพันธ์เชิงบวกสูงกับอินทรียวัตถุความจุแลกเปลี่ยนแคตไอออน และอนุภาคดินเหนียว แต่ K รูปต่าง ๆ ที่สกัดได้ทั้ง 2 วิธี ยังมีความสัมพันธ์เชิงบวกกันสูง โดยพบว่า ผลรวมของ Exch-K กับ Car-K มีความสัมพันธ์กับ NH4OAc-K (r2=0.94) นอกจากนั้น ผลรวมของ Oxide-K กับ OM-K มีความสัมพันธ์กับ Fixed-K (r2=0.84) และ Res-K พบความสัมพันธ์สูงกับ MinK (r2=0.83) การตรึง K ในดินเกิดได้ดีในกลุ่มดินเนื้อละเอียด ดินทั้ง 3 กลุ่มเนื้อดินมีค่าสัมประสิทธิ์ การต้านทานโพแทสเซียม (BCK ) ในช่วง 0.7-0.8 ดังนั้น ร้อยละ 70-80 ของ ปุ๋ย K ที่ใส่จะอยู่ใน สารละลายดินและรูปที่แลกเปลี่ยนได้ ในขณะที่ร้อยละ 20-30 ของ K ที่ใส่ปุ๋ยจะถูกตรึงไว้ในดิน ดิน ปลูกยางพารามีศักยภาพในการปลดปล่อย K ได้ต่ำ โดยดินเนื้อละเอียดมีการตรึงและปลดปล่อยสูง กว่าดินเนื้อปานกลาง และหยาบ ตามลำดับ การใส่ปุ๋ย K ในดินทำให้การเจริญเติบโตของพืชดีและ เพิ่มการดูดใช้ K และ N แต่เมื่อใส่ปุ๋ย K ในปริมาณสูง พบว่า ยางพาราดูดใช้ Ca และ Mg ลดลง เมื่อ ประเมินรูปของ K ในดินหลังปลูกกล้ายาง พบว่า K ส่วนใหญ่อยู่ในรูป Res-K > Exch-K > Car-K > Oxide-K > OM-K และพบว่า ความเข้มข้นของ Exch-K และ Car-K เพิ่มขึ้น ดังนั้น SEP สามารถ นำไปประเมิน K ในรูปที่เป็นประโยชน์ได้สอดคล้องกับการประเมินแบบ SLE ทั้งนี้ดินปลูกยางพาราใน ภาคใต้ควรใส่ปุ๋ย K ร่วมกับปุ๋ยอินทรีย์เพื่อให้ดินมีระดับ K เพียงพอต่อความต้องการของยางพารา 2024-11-06T07:56:02Z 2024-11-06T07:56:02Z 2023 Thesis http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19605 th Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ application/pdf มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์