รูปแบบการส่งเสริมพลังครอบครัวและชุมชนในการดูแลเด็กและวัยรุ่นออทิสติกในจังหวัดชายแดนใต้
รูปแบบการส่งเสริมพลังครอบครัวและชุมชนในการดูแลเด็กและวัยรุ่นออทิสติกในห้าจังหวัดชายแดนใต้ การศึกษาวิจัยในครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปฎิบัติการแบบมีส่วนร่วม มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเป็นไปได้ในการใช้นโยบายห้องเรียนฝึกอาชีพคู่ขนานสำหรับวัยรุ่นพิการและออทิสติกในวิทยาลัยการอาชีพในห้าจังหวัดชายแดนใต้ พัฒ...
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Technical Report |
Language: | Thai |
Published: |
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
2024
|
Subjects: | |
Online Access: | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19617 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Prince of Songkhla University |
Language: | Thai |
id |
th-psu.2016-19617 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Prince of Songkhla University |
building |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
collection |
PSU Knowledge Bank |
language |
Thai |
topic |
ครอบครัว การดูแลเด็ก |
spellingShingle |
ครอบครัว การดูแลเด็ก พาตีเมาะ นิมา รูปแบบการส่งเสริมพลังครอบครัวและชุมชนในการดูแลเด็กและวัยรุ่นออทิสติกในจังหวัดชายแดนใต้ |
description |
รูปแบบการส่งเสริมพลังครอบครัวและชุมชนในการดูแลเด็กและวัยรุ่นออทิสติกในห้าจังหวัดชายแดนใต้ การศึกษาวิจัยในครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปฎิบัติการแบบมีส่วนร่วม มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเป็นไปได้ในการใช้นโยบายห้องเรียนฝึกอาชีพคู่ขนานสำหรับวัยรุ่นพิการและออทิสติกในวิทยาลัยการอาชีพในห้าจังหวัดชายแดนใต้ พัฒนานวัตกรรมจากพลังครอบครัวที่มีต่อพัฒนาการและสุขภาพจิตของเด็กและวัยรุ่นออทิสติก และประเมินสุขภาพจิตของเด็กและวัยรุ่นออทิสติกในจังหวัดชายแดนใต้ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาเชิงคุณภาพเป็นผู้บริหารโรงเรียน ครูจากโรงเรียนศึกษาพิเศษเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ ศูนย์การศึกษาพิเศษ อาชีวศึกษา วิทยาลัยชุมชน และโรงเรียนคู่ขนานระดับประถมศึกษาในจังหวัดยะลา จำนวน 180 คน ผู้ปกครองและผู้พิการในชมรม 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ได้แก่จังหวัดนราธิวาส ยะลา ปัตตานี สงชลา และสตูล จำนวน 100 คน และกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาเชิงปริมาณคือผู้ปกครองและบุคคลออทิสติกในชมรม 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้ จำนวน 200 คน และตัวแทนจากภาคประชาสังคม จำนวน 100 คน โดยเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจงตามคุณสมบัติที่กำหนด ใช้ระยะเวลาในการดำเนินการ 18 เดือน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเชิงคุณภาพ คือ ประเด็นคำถามความเป็นไปได้ในการใช้นโยบายห้องเรียนฝึกอาชีพคู่ขนานสำหรับวัยรุ่นพิการและออทิสติกในวิทยาลัยการอาชีพในห้าจังหวัดชายแดนใต้ การสนทนากลุ่มและปฎิบัตการแบบมีส่วนร่วมในการพัฒนานวัตกรรม และเชิงปริมาณ คือ แบบประเมินสุขภาพจิตของบุคคลออทิสติก มีค่าความเที่ยง Alpha’s Cronbach เท่ากับ 0.81 วิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพใช้การวิเคราะห์เชิงเนื้อหา และข้อมูลเชิงปริมาณด้วยสถิติพรรณนา ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัย พบว่า รูปแบบการส่งเสริมพลังครอบครัวและชุมชนในการดูแลเด็กและวัยรุ่นออทิสติกในห้าจังหวัดชายแดนใต้ ครูส่วนใหญ่มีความคิดเห็นพ้องกันในความจำเป็นในการจัดการเรียนการสอนด้านอาชีพแก่ผู้พิการทุกประเภทไม่เฉพาะแต่บุคคลออทิสติกที่จบการศึกษาระดับประถมศึกษาปีที่ 6 เพื่อให้สามารถพัฒนาตนเองให้เพียงพอที่จะสร้างอาชีพพึ่งตนเองได้ในอนาคต โดยการจัดห้องเรียนฝึกอาชีพคู่ขนานสำหรับวัยรุ่นพิการในวิทยาลัยการอาชีพในห้าจังหวัดชายแดนใต้ จึงจัดทำหลักสูตรระยะสั้นห้องเรียนคู่ขนานสำหรับผู้พิการในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาอาชีวศึกษาและวิทยาลัยชุมชน ประกอบด้วย 6 หลักสูตร คือ หลักสูตรคอมพิวเตอร์ หลักสูตรงานประดิษฐ์ของใช้จากผ้า หลักสูตรจัดช่อดอกไม้แสดงความยินดี หลักสูตรนวดฝ่าเท้าเพื่อสุขภาพ หลักสูตรขนมไทย และหลักสูตรสาขาวิชาเกษตรศาสตร์ เพื่อเป็นหลักสูตรการเตรียมความพร้อมของผู้พิการทั้งในและนอกระบบการศึกษาที่จบการศึกษาในระดับมัธยมปีที่ 3 หรือเทียบโอนหน่วยกิตการเรียนก่อนเข้าสู่การศึกษาในระดับระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) และสำหรับเป็นทางเลือกของการทำอาชีพบำบัดได้ด้วย ผู้ปกครองบุคคลออทิสติกในชมรม 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้มีความคิดเห็นว่า ต้องพัฒนาศักยภาพของบุคคลออทิสติกเพื่อส่งเสริมพัฒนาการและทักษะชีวิตในการอยู่ร่วมกับบุคคลอื่นในสังคม โดยพัฒนานวัตกรรม 5 รูปแบบ คือ 1) ชมรมผู้ปกครองบุคคลออทิสติกจังหวัดปัตตานีพัฒนานวัตกรรมเป็นแอพพลิเคชั่นสำหรับพัฒนาศักยภาพบุคคลออทิสติก (Thai-APDA) 2) จังหวัดสงขลาพัฒนานวัตกรรมเป็น E-book: Social Story เรื่องไปเซเว่นสำหรับลูกออทิสติก เพื่อฝึกทักษะการรอคอยและพัฒนาทักษะการเลือกซื้อของ 3) จังหวัดยะลาพัฒนานวัตกรรมเป็นหมากขุมประเทืองปัญญา เพื่อพัฒนาสมาธิลูกออทิสติก 4) จังหวัดนราธิวาสพัฒนานวัตกรรมเป็น Buku Saya คำวิเศษชวนน้องออทิสติกคุยกัน และ 5) จังหวัดสตูลพัฒนานวัตกรรมเป็นการทำเกษตรผสมผสานบนกระเบื้อง เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ลูกออทิสติกและฝึกทักษะทางสังคม ปัญหาสุขภาพจิตที่พบในเด็กและวัยรุ่นออทิสติกมากที่สุดร้อยละ 43.30 มีปัญหาด้านการเคลื่อนไหวที่ผิดปกติ รองลงร้อยละ 29.90 ปัญหาด้านความรู้สึกกังวล มีปมด้อยอย่างรุนแรงสม่ำเสมอ ร้อยละ 18.85 ปัญหาการปลีกตัวออกจากสังคม อันมีผลต่อการเรียน ร้อยละ 7.37 มีพฤติกรรมก้าวร้าว ก่อกวนเป็นอันตรายแก่ตนเองและผู้อื่น และร้อยละ 7.02 ปัญหาการปรับตัวทางสังคมไม่ถูกต้อง มีการฝ่าฝืนกฎเกณฑ์ที่เป็นที่ยอมรับของสังคม ตามลำดับ |
author2 |
Faculty of Education (Psychology and Counseling) |
author_facet |
Faculty of Education (Psychology and Counseling) พาตีเมาะ นิมา |
format |
Technical Report |
author |
พาตีเมาะ นิมา |
author_sort |
พาตีเมาะ นิมา |
title |
รูปแบบการส่งเสริมพลังครอบครัวและชุมชนในการดูแลเด็กและวัยรุ่นออทิสติกในจังหวัดชายแดนใต้ |
title_short |
รูปแบบการส่งเสริมพลังครอบครัวและชุมชนในการดูแลเด็กและวัยรุ่นออทิสติกในจังหวัดชายแดนใต้ |
title_full |
รูปแบบการส่งเสริมพลังครอบครัวและชุมชนในการดูแลเด็กและวัยรุ่นออทิสติกในจังหวัดชายแดนใต้ |
title_fullStr |
รูปแบบการส่งเสริมพลังครอบครัวและชุมชนในการดูแลเด็กและวัยรุ่นออทิสติกในจังหวัดชายแดนใต้ |
title_full_unstemmed |
รูปแบบการส่งเสริมพลังครอบครัวและชุมชนในการดูแลเด็กและวัยรุ่นออทิสติกในจังหวัดชายแดนใต้ |
title_sort |
รูปแบบการส่งเสริมพลังครอบครัวและชุมชนในการดูแลเด็กและวัยรุ่นออทิสติกในจังหวัดชายแดนใต้ |
publisher |
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |
publishDate |
2024 |
url |
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19617 |
_version_ |
1821269958739361792 |
spelling |
th-psu.2016-196172024-12-26T06:40:47Z รูปแบบการส่งเสริมพลังครอบครัวและชุมชนในการดูแลเด็กและวัยรุ่นออทิสติกในจังหวัดชายแดนใต้ Models of promotion to family and community empowerment for caring the children and adolescents with autism in five southern border provinces พาตีเมาะ นิมา Faculty of Education (Psychology and Counseling) คณะศึกษาศาสตร์ ภาควิชาจิตวิทยาและการแนะแนว ครอบครัว การดูแลเด็ก รูปแบบการส่งเสริมพลังครอบครัวและชุมชนในการดูแลเด็กและวัยรุ่นออทิสติกในห้าจังหวัดชายแดนใต้ การศึกษาวิจัยในครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปฎิบัติการแบบมีส่วนร่วม มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเป็นไปได้ในการใช้นโยบายห้องเรียนฝึกอาชีพคู่ขนานสำหรับวัยรุ่นพิการและออทิสติกในวิทยาลัยการอาชีพในห้าจังหวัดชายแดนใต้ พัฒนานวัตกรรมจากพลังครอบครัวที่มีต่อพัฒนาการและสุขภาพจิตของเด็กและวัยรุ่นออทิสติก และประเมินสุขภาพจิตของเด็กและวัยรุ่นออทิสติกในจังหวัดชายแดนใต้ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาเชิงคุณภาพเป็นผู้บริหารโรงเรียน ครูจากโรงเรียนศึกษาพิเศษเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ ศูนย์การศึกษาพิเศษ อาชีวศึกษา วิทยาลัยชุมชน และโรงเรียนคู่ขนานระดับประถมศึกษาในจังหวัดยะลา จำนวน 180 คน ผู้ปกครองและผู้พิการในชมรม 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ได้แก่จังหวัดนราธิวาส ยะลา ปัตตานี สงชลา และสตูล จำนวน 100 คน และกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาเชิงปริมาณคือผู้ปกครองและบุคคลออทิสติกในชมรม 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้ จำนวน 200 คน และตัวแทนจากภาคประชาสังคม จำนวน 100 คน โดยเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจงตามคุณสมบัติที่กำหนด ใช้ระยะเวลาในการดำเนินการ 18 เดือน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเชิงคุณภาพ คือ ประเด็นคำถามความเป็นไปได้ในการใช้นโยบายห้องเรียนฝึกอาชีพคู่ขนานสำหรับวัยรุ่นพิการและออทิสติกในวิทยาลัยการอาชีพในห้าจังหวัดชายแดนใต้ การสนทนากลุ่มและปฎิบัตการแบบมีส่วนร่วมในการพัฒนานวัตกรรม และเชิงปริมาณ คือ แบบประเมินสุขภาพจิตของบุคคลออทิสติก มีค่าความเที่ยง Alpha’s Cronbach เท่ากับ 0.81 วิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพใช้การวิเคราะห์เชิงเนื้อหา และข้อมูลเชิงปริมาณด้วยสถิติพรรณนา ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัย พบว่า รูปแบบการส่งเสริมพลังครอบครัวและชุมชนในการดูแลเด็กและวัยรุ่นออทิสติกในห้าจังหวัดชายแดนใต้ ครูส่วนใหญ่มีความคิดเห็นพ้องกันในความจำเป็นในการจัดการเรียนการสอนด้านอาชีพแก่ผู้พิการทุกประเภทไม่เฉพาะแต่บุคคลออทิสติกที่จบการศึกษาระดับประถมศึกษาปีที่ 6 เพื่อให้สามารถพัฒนาตนเองให้เพียงพอที่จะสร้างอาชีพพึ่งตนเองได้ในอนาคต โดยการจัดห้องเรียนฝึกอาชีพคู่ขนานสำหรับวัยรุ่นพิการในวิทยาลัยการอาชีพในห้าจังหวัดชายแดนใต้ จึงจัดทำหลักสูตรระยะสั้นห้องเรียนคู่ขนานสำหรับผู้พิการในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาอาชีวศึกษาและวิทยาลัยชุมชน ประกอบด้วย 6 หลักสูตร คือ หลักสูตรคอมพิวเตอร์ หลักสูตรงานประดิษฐ์ของใช้จากผ้า หลักสูตรจัดช่อดอกไม้แสดงความยินดี หลักสูตรนวดฝ่าเท้าเพื่อสุขภาพ หลักสูตรขนมไทย และหลักสูตรสาขาวิชาเกษตรศาสตร์ เพื่อเป็นหลักสูตรการเตรียมความพร้อมของผู้พิการทั้งในและนอกระบบการศึกษาที่จบการศึกษาในระดับมัธยมปีที่ 3 หรือเทียบโอนหน่วยกิตการเรียนก่อนเข้าสู่การศึกษาในระดับระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) และสำหรับเป็นทางเลือกของการทำอาชีพบำบัดได้ด้วย ผู้ปกครองบุคคลออทิสติกในชมรม 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้มีความคิดเห็นว่า ต้องพัฒนาศักยภาพของบุคคลออทิสติกเพื่อส่งเสริมพัฒนาการและทักษะชีวิตในการอยู่ร่วมกับบุคคลอื่นในสังคม โดยพัฒนานวัตกรรม 5 รูปแบบ คือ 1) ชมรมผู้ปกครองบุคคลออทิสติกจังหวัดปัตตานีพัฒนานวัตกรรมเป็นแอพพลิเคชั่นสำหรับพัฒนาศักยภาพบุคคลออทิสติก (Thai-APDA) 2) จังหวัดสงขลาพัฒนานวัตกรรมเป็น E-book: Social Story เรื่องไปเซเว่นสำหรับลูกออทิสติก เพื่อฝึกทักษะการรอคอยและพัฒนาทักษะการเลือกซื้อของ 3) จังหวัดยะลาพัฒนานวัตกรรมเป็นหมากขุมประเทืองปัญญา เพื่อพัฒนาสมาธิลูกออทิสติก 4) จังหวัดนราธิวาสพัฒนานวัตกรรมเป็น Buku Saya คำวิเศษชวนน้องออทิสติกคุยกัน และ 5) จังหวัดสตูลพัฒนานวัตกรรมเป็นการทำเกษตรผสมผสานบนกระเบื้อง เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ลูกออทิสติกและฝึกทักษะทางสังคม ปัญหาสุขภาพจิตที่พบในเด็กและวัยรุ่นออทิสติกมากที่สุดร้อยละ 43.30 มีปัญหาด้านการเคลื่อนไหวที่ผิดปกติ รองลงร้อยละ 29.90 ปัญหาด้านความรู้สึกกังวล มีปมด้อยอย่างรุนแรงสม่ำเสมอ ร้อยละ 18.85 ปัญหาการปลีกตัวออกจากสังคม อันมีผลต่อการเรียน ร้อยละ 7.37 มีพฤติกรรมก้าวร้าว ก่อกวนเป็นอันตรายแก่ตนเองและผู้อื่น และร้อยละ 7.02 ปัญหาการปรับตัวทางสังคมไม่ถูกต้อง มีการฝ่าฝืนกฎเกณฑ์ที่เป็นที่ยอมรับของสังคม ตามลำดับ 2024-12-26T06:40:47Z 2024-12-26T06:40:47Z 2564 Technical Report http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19617 th มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |