การพัฒนาโปรแกรมส่งเสริมสมดุลชีวิตสำหรับนักศึกษามหาวิทยาลัยในภาคใต้
การศึกษาวิจัยเชิงบรรยายครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับสมดุลชีวิตของนักศึกษามหาวิทยลัย ในภาคใต้ กลุ่มตัวอย่างคือนักศึกษาชั้นปีที่1 ปีการศึกษา 2559 ของมหาวิทยาลัยในภาคใต้แห่งหนึ่ง จำนวน 336 คน คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ แบบส...
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Technical Report |
Language: | Thai |
Published: |
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
2025
|
Subjects: | |
Online Access: | https://tnrr.nriis.go.th/#/research/1022319 http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19632 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Prince of Songkhla University |
Language: | Thai |
id |
th-psu.2016-19632 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-psu.2016-196322025-01-07T07:42:40Z การพัฒนาโปรแกรมส่งเสริมสมดุลชีวิตสำหรับนักศึกษามหาวิทยาลัยในภาคใต้ Development of Harmony in Life Promoting Program for University Students, Southern Thailand ปิยะนุช จิตตนูนท์, สุมาลี วังธนากร Faculty of Nursing คณะพยาบาลศาสตร์ สมดุลชีวิต นักศึกษามหาวิทยาลัย Student activities Harmony in life การศึกษาวิจัยเชิงบรรยายครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับสมดุลชีวิตของนักศึกษามหาวิทยลัย ในภาคใต้ กลุ่มตัวอย่างคือนักศึกษาชั้นปีที่1 ปีการศึกษา 2559 ของมหาวิทยาลัยในภาคใต้แห่งหนึ่ง จำนวน 336 คน คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป และแบบสอบถามสมดุลชีวิต ซึ่งได้ รับการตรวจสอบความตรงตาม เนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 3 ท่าน และได้นำไปทตสอบเพื่อหาค่าความเชื่อมั่นของเครื่องมือในกลุ่ม ตัวอย่างนักศึกษาที่มีคุณลักษณะคล้ายคลึงกันจำนวน 30 ราย ได้ค่าความเชื่อมั่นสัมประสิทธิ์อัลาของ ครอนบาคของเครื่องมือเท่ากับ .91 วิเคราะห์ข้อมูสโดยใช้สถิติเชิงบรรยายโดยการหาค่าจำนวน ร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติที่ ผลการศึกษาพบว่าระดับสมดุลชีวิตของนักศึกษโดยรวม และรายด้านทุกด้านอยู่ในระดับสูง โดย คะแนนเฉลี่ยสมดุลชีวิตโดยรวม เท่ากับ 3.79 (SD =-.40) ด้านการมีเป้าหมายในชีวิตเท่ากับ 3.92 (SD=.45) ด้านการเข้าใจและยอมรับตนเอง เท่ากับ 3.75 (SD=.45) ด้านการเข้าใจและยอมรับความจริงของชีวิต เท่ากับ 3.73 (SD=.47) โดยค่าเฉลี่ยคะแนนด้านการมีเป้าหมายในชีวิตมีค่าสูงที่สุด คะแนนเฉลี่ยสมดุลชีวิต โดยรวมและรายด้านทุกด้านของนักศึกษาชายและหญิงไม่แตกต่างกัน และคะแนนเฉลี่ยสมดุลชีวิตโดยรวม ด้านการมีเป้าหมายในชีวิต และด้านการเข้าใจและยอมรับความจริงของชีวิตของนักศึกษาวิทยาเขต หาดใหญ่และปัตตานีไม่แกต่างกัน ยกเว้นด้านการเข้าใจและยอมรับตนเองมีความแตกต่างกันอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติ (M = 3.80, SD = .42, M = 3.61, SD = .49, p < .001) ผลการศึกษาสามารถใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาโปรแกรมส่งเสริมสมดุลชีวิตสำหรับ นักศึกษามหาวิทยาลัย เพื่อส่งเสริมและคงไว้ซึ่งสมดุลชีวิตที่ดีของนักศึกษาอย่างต่อเนื่อง 2025-01-07T07:42:39Z 2025-01-07T07:42:39Z 2560 Technical Report https://tnrr.nriis.go.th/#/research/1022319 http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19632 th มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |
institution |
Prince of Songkhla University |
building |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
collection |
PSU Knowledge Bank |
language |
Thai |
topic |
สมดุลชีวิต นักศึกษามหาวิทยาลัย Student activities Harmony in life |
spellingShingle |
สมดุลชีวิต นักศึกษามหาวิทยาลัย Student activities Harmony in life ปิยะนุช จิตตนูนท์, สุมาลี วังธนากร การพัฒนาโปรแกรมส่งเสริมสมดุลชีวิตสำหรับนักศึกษามหาวิทยาลัยในภาคใต้ |
description |
การศึกษาวิจัยเชิงบรรยายครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับสมดุลชีวิตของนักศึกษามหาวิทยลัย ในภาคใต้ กลุ่มตัวอย่างคือนักศึกษาชั้นปีที่1 ปีการศึกษา 2559 ของมหาวิทยาลัยในภาคใต้แห่งหนึ่ง จำนวน 336 คน คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป และแบบสอบถามสมดุลชีวิต ซึ่งได้ รับการตรวจสอบความตรงตาม เนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 3 ท่าน และได้นำไปทตสอบเพื่อหาค่าความเชื่อมั่นของเครื่องมือในกลุ่ม ตัวอย่างนักศึกษาที่มีคุณลักษณะคล้ายคลึงกันจำนวน 30 ราย ได้ค่าความเชื่อมั่นสัมประสิทธิ์อัลาของ ครอนบาคของเครื่องมือเท่ากับ .91 วิเคราะห์ข้อมูสโดยใช้สถิติเชิงบรรยายโดยการหาค่าจำนวน ร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติที่ ผลการศึกษาพบว่าระดับสมดุลชีวิตของนักศึกษโดยรวม และรายด้านทุกด้านอยู่ในระดับสูง โดย คะแนนเฉลี่ยสมดุลชีวิตโดยรวม เท่ากับ 3.79 (SD =-.40) ด้านการมีเป้าหมายในชีวิตเท่ากับ 3.92 (SD=.45) ด้านการเข้าใจและยอมรับตนเอง เท่ากับ 3.75 (SD=.45) ด้านการเข้าใจและยอมรับความจริงของชีวิต เท่ากับ 3.73 (SD=.47) โดยค่าเฉลี่ยคะแนนด้านการมีเป้าหมายในชีวิตมีค่าสูงที่สุด คะแนนเฉลี่ยสมดุลชีวิต โดยรวมและรายด้านทุกด้านของนักศึกษาชายและหญิงไม่แตกต่างกัน และคะแนนเฉลี่ยสมดุลชีวิตโดยรวม ด้านการมีเป้าหมายในชีวิต และด้านการเข้าใจและยอมรับความจริงของชีวิตของนักศึกษาวิทยาเขต หาดใหญ่และปัตตานีไม่แกต่างกัน ยกเว้นด้านการเข้าใจและยอมรับตนเองมีความแตกต่างกันอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติ (M = 3.80, SD = .42, M = 3.61, SD = .49, p < .001) ผลการศึกษาสามารถใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาโปรแกรมส่งเสริมสมดุลชีวิตสำหรับ นักศึกษามหาวิทยาลัย เพื่อส่งเสริมและคงไว้ซึ่งสมดุลชีวิตที่ดีของนักศึกษาอย่างต่อเนื่อง |
author2 |
Faculty of Nursing |
author_facet |
Faculty of Nursing ปิยะนุช จิตตนูนท์, สุมาลี วังธนากร |
format |
Technical Report |
author |
ปิยะนุช จิตตนูนท์, สุมาลี วังธนากร |
author_sort |
ปิยะนุช จิตตนูนท์, สุมาลี วังธนากร |
title |
การพัฒนาโปรแกรมส่งเสริมสมดุลชีวิตสำหรับนักศึกษามหาวิทยาลัยในภาคใต้ |
title_short |
การพัฒนาโปรแกรมส่งเสริมสมดุลชีวิตสำหรับนักศึกษามหาวิทยาลัยในภาคใต้ |
title_full |
การพัฒนาโปรแกรมส่งเสริมสมดุลชีวิตสำหรับนักศึกษามหาวิทยาลัยในภาคใต้ |
title_fullStr |
การพัฒนาโปรแกรมส่งเสริมสมดุลชีวิตสำหรับนักศึกษามหาวิทยาลัยในภาคใต้ |
title_full_unstemmed |
การพัฒนาโปรแกรมส่งเสริมสมดุลชีวิตสำหรับนักศึกษามหาวิทยาลัยในภาคใต้ |
title_sort |
การพัฒนาโปรแกรมส่งเสริมสมดุลชีวิตสำหรับนักศึกษามหาวิทยาลัยในภาคใต้ |
publisher |
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |
publishDate |
2025 |
url |
https://tnrr.nriis.go.th/#/research/1022319 http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19632 |
_version_ |
1821269964613484544 |