วัสดุทดแทนกระดูกและสารโครงร่างสำหรับการสร้างกระดูกใหม่
ภายหลังการถอนฟัน กระดูกเบ้าฟันเกิดการปรับรูปและสลายตัวนำไปสู่การฝ่อลีบของกระดูกขากรรไกรทำให้ไม่เพียงพอต่อการรองรับฟันเทียมและรากฟันเทียม การคงสภาพกระดูกเบ้าฟันเป็นการใส่กระดูกปลูกถ่ายในเบ้าฟันเพื่อทำหน้าที่เป็นโครงร่างสำหรับการสร้างกระดูกในเบ้าฟันเพื่อให้เบ้าฟันคงรูปร่างอยู่ได้ การศึกษานี้มีวัตถุประ...
Saved in:
Main Authors: | , |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Technical Report |
Language: | Thai |
Published: |
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
2025
|
Subjects: | |
Online Access: | https://tnrr.nriis.go.th/#/research/1018096 http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19635 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Prince of Songkhla University |
Language: | Thai |
id |
th-psu.2016-19635 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-psu.2016-196352025-01-07T08:19:31Z วัสดุทดแทนกระดูกและสารโครงร่างสำหรับการสร้างกระดูกใหม่ Bone substitute material and osteoconductive scaffold for bone regeneration ปริศนา ปริพัฒนานนท์ ณัฐวุฒิ เทือกสุบรรณ Faculty of Dentistry (Surgery) คณะทันตแพทยศาสตร์ ภาควิชาศัลยศาสตร์ วัสดุทดแทนกระดูก การถอนฟัน ภายหลังการถอนฟัน กระดูกเบ้าฟันเกิดการปรับรูปและสลายตัวนำไปสู่การฝ่อลีบของกระดูกขากรรไกรทำให้ไม่เพียงพอต่อการรองรับฟันเทียมและรากฟันเทียม การคงสภาพกระดูกเบ้าฟันเป็นการใส่กระดูกปลูกถ่ายในเบ้าฟันเพื่อทำหน้าที่เป็นโครงร่างสำหรับการสร้างกระดูกในเบ้าฟันเพื่อให้เบ้าฟันคงรูปร่างอยู่ได้ การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพของวัสดุทดแทนกระดูกไบเฟสิกแคลเซียมฟอสเฟต กับกระดูกเอกพันธ์แห้งแบบระเหิดในการคงสภาพเบ้าฟันที่ปิดด้วยเยื่อเพลตเลตริชไฟบริน (พีอาร์เอฟ) การศึกษานี้เป็นการศึกษาทางคลินิกในผู้ป่วยที่รับการถอนฟันที่มีรากเดียว และได้รับการคงสภาพกระดูกเบ้าฟันสำหรับการฝังรากเทียม ผู้ป่วยแบ่งเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มละ 10 ซี่ฟันทำการปลูกถ่ายกระดูกเบ้าฟันด้วยกระดูกเอกพันธุ์แห้งแบบระเหิด หรือวัสดุทดแทนกระดูกไบเฟสิกแคลเซียมฟอสเฟตและปิดเบ้าฟันด้วยเยื่อพีอาร์เอฟ ทำการประเมินการหายของเนื้อเยื่ออ่อนโดยการวัดปากเบ้าฟันและประเมินการเปลี่ยนแปลงมิติของสันกระดูกขากรรไกรโดยวัดจากชิ้นหล่อศึกษาและโคนบีมคอมพิวเตอร์โทโมกราฟ ที่ 2, 6, 8 และ 12 สัปดาห์ และที่ 12 สัปดาห์ ทำการตรวจชิ้นเนื้อกระดูกและประเมินปริมาณของกระดูกและวัสดุปลูกถ่ายด้วยภาพถ่ายรังสีทางไมโครคอมพิวเตอร์โทโมกราฟและตรวจสัณฐานวิทยาโดยวิธีจุลพยาธิวิทยา ผลการศึกษาพบว่าการหายของเนื้อเยื่ออ่อนของบริเวณปากเบ้าฟันไม่แตกต่างกันระหว่าง 2 กลุ่มในแต่ละช่วงเวลา แต่ในแต่ละกลุ่มมีการหายของเนื้อเยื่ออ่อนต่างกันโดยปากแผลลดลงในแต่ละช่วงเวลาที่ 6, 8 และ 12 สัปดาห์อย่างนัยสำคัญทางสถิติ (P <0.05) การเปลี่ยนแปลงมิติของสันกระดูกขากรรไกรโดยชิ้นหล่อศึกษาในแนวความกว้างและความสูงของทั้ง 2 กลุ่ม ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ แต่พบการลดลงความกว้างของสันกระดูกขากรรไกรด้านแก้ม ด้านเพดานหรือด้านลิ้น และความสูงในกลุ่มเดียวกันลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) ทั้งสองกลุ่ม การเปลี่ยนแปลงมิติของสันกระดูกขากรรไกรโดยโคนบีมคอมพิวเตอร์โทโมกราฟทั้งของสองกลุ่มไม่พบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ภาพรังสีไมโครคอมพิวเตอร์โทโมกราฟพบว่าปริมาณการสร้างกระดูกใหม่และวัสดุที่หลงเหลือของกระดูกเอกพันธ์แห้งแบบระเหิด (22.37?9.61,17.31?14.53) และไบเฟสิกแคลเซียมฟอสเฟต(16.89?7.46,15.94?7.39) ไม่มีความแตกต่างกัน แต่จากการวัดทางจุลพยาธิวิทยาพบวัสดุที่หลงเหลือของกระดูกเอกพันธ์แห้งแบบระเหิด(29.38?7.96) และไบเฟสิกแคลเซียมฟอสเฟต (22.50?2.64) มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) แต่ไม่พบความแตกต่างในการสร้างกระดูกใหม่ของกระดูกเอกพันธ์แห้งแบบระเหิด (20.17?4.59) และไบเฟสิกแคลเซียมฟอสเฟต (18.40?7.20) จึงสรุปได้ว่าไบเฟสิกแคลเซียมฟอสเฟตและกระดูกเอกพันธ์แห้งแบบระเหิดเหมาะสมสำหรับการทำการคงสภาพกระดูกเบ้าฟัน และเยื่อพีอาร์เอฟมีประสิทธิภาพในการสร้างเนื้อเยื่ออ่อนเหมาะสมสำหรับการใช้ปิดเบ้าฟัน 2025-01-07T08:19:31Z 2025-01-07T08:19:31Z 2559 Technical Report https://tnrr.nriis.go.th/#/research/1018096 http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19635 th มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |
institution |
Prince of Songkhla University |
building |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
collection |
PSU Knowledge Bank |
language |
Thai |
topic |
วัสดุทดแทนกระดูก การถอนฟัน |
spellingShingle |
วัสดุทดแทนกระดูก การถอนฟัน ปริศนา ปริพัฒนานนท์ ณัฐวุฒิ เทือกสุบรรณ วัสดุทดแทนกระดูกและสารโครงร่างสำหรับการสร้างกระดูกใหม่ |
description |
ภายหลังการถอนฟัน กระดูกเบ้าฟันเกิดการปรับรูปและสลายตัวนำไปสู่การฝ่อลีบของกระดูกขากรรไกรทำให้ไม่เพียงพอต่อการรองรับฟันเทียมและรากฟันเทียม การคงสภาพกระดูกเบ้าฟันเป็นการใส่กระดูกปลูกถ่ายในเบ้าฟันเพื่อทำหน้าที่เป็นโครงร่างสำหรับการสร้างกระดูกในเบ้าฟันเพื่อให้เบ้าฟันคงรูปร่างอยู่ได้ การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพของวัสดุทดแทนกระดูกไบเฟสิกแคลเซียมฟอสเฟต กับกระดูกเอกพันธ์แห้งแบบระเหิดในการคงสภาพเบ้าฟันที่ปิดด้วยเยื่อเพลตเลตริชไฟบริน (พีอาร์เอฟ) การศึกษานี้เป็นการศึกษาทางคลินิกในผู้ป่วยที่รับการถอนฟันที่มีรากเดียว และได้รับการคงสภาพกระดูกเบ้าฟันสำหรับการฝังรากเทียม ผู้ป่วยแบ่งเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มละ 10 ซี่ฟันทำการปลูกถ่ายกระดูกเบ้าฟันด้วยกระดูกเอกพันธุ์แห้งแบบระเหิด หรือวัสดุทดแทนกระดูกไบเฟสิกแคลเซียมฟอสเฟตและปิดเบ้าฟันด้วยเยื่อพีอาร์เอฟ ทำการประเมินการหายของเนื้อเยื่ออ่อนโดยการวัดปากเบ้าฟันและประเมินการเปลี่ยนแปลงมิติของสันกระดูกขากรรไกรโดยวัดจากชิ้นหล่อศึกษาและโคนบีมคอมพิวเตอร์โทโมกราฟ ที่ 2, 6, 8 และ 12 สัปดาห์ และที่ 12 สัปดาห์ ทำการตรวจชิ้นเนื้อกระดูกและประเมินปริมาณของกระดูกและวัสดุปลูกถ่ายด้วยภาพถ่ายรังสีทางไมโครคอมพิวเตอร์โทโมกราฟและตรวจสัณฐานวิทยาโดยวิธีจุลพยาธิวิทยา ผลการศึกษาพบว่าการหายของเนื้อเยื่ออ่อนของบริเวณปากเบ้าฟันไม่แตกต่างกันระหว่าง 2 กลุ่มในแต่ละช่วงเวลา แต่ในแต่ละกลุ่มมีการหายของเนื้อเยื่ออ่อนต่างกันโดยปากแผลลดลงในแต่ละช่วงเวลาที่ 6, 8 และ 12 สัปดาห์อย่างนัยสำคัญทางสถิติ (P <0.05) การเปลี่ยนแปลงมิติของสันกระดูกขากรรไกรโดยชิ้นหล่อศึกษาในแนวความกว้างและความสูงของทั้ง 2 กลุ่ม ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ แต่พบการลดลงความกว้างของสันกระดูกขากรรไกรด้านแก้ม ด้านเพดานหรือด้านลิ้น และความสูงในกลุ่มเดียวกันลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) ทั้งสองกลุ่ม การเปลี่ยนแปลงมิติของสันกระดูกขากรรไกรโดยโคนบีมคอมพิวเตอร์โทโมกราฟทั้งของสองกลุ่มไม่พบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ภาพรังสีไมโครคอมพิวเตอร์โทโมกราฟพบว่าปริมาณการสร้างกระดูกใหม่และวัสดุที่หลงเหลือของกระดูกเอกพันธ์แห้งแบบระเหิด (22.37?9.61,17.31?14.53) และไบเฟสิกแคลเซียมฟอสเฟต(16.89?7.46,15.94?7.39) ไม่มีความแตกต่างกัน แต่จากการวัดทางจุลพยาธิวิทยาพบวัสดุที่หลงเหลือของกระดูกเอกพันธ์แห้งแบบระเหิด(29.38?7.96) และไบเฟสิกแคลเซียมฟอสเฟต (22.50?2.64) มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) แต่ไม่พบความแตกต่างในการสร้างกระดูกใหม่ของกระดูกเอกพันธ์แห้งแบบระเหิด (20.17?4.59) และไบเฟสิกแคลเซียมฟอสเฟต (18.40?7.20) จึงสรุปได้ว่าไบเฟสิกแคลเซียมฟอสเฟตและกระดูกเอกพันธ์แห้งแบบระเหิดเหมาะสมสำหรับการทำการคงสภาพกระดูกเบ้าฟัน และเยื่อพีอาร์เอฟมีประสิทธิภาพในการสร้างเนื้อเยื่ออ่อนเหมาะสมสำหรับการใช้ปิดเบ้าฟัน |
author2 |
Faculty of Dentistry (Surgery) |
author_facet |
Faculty of Dentistry (Surgery) ปริศนา ปริพัฒนานนท์ ณัฐวุฒิ เทือกสุบรรณ |
format |
Technical Report |
author |
ปริศนา ปริพัฒนานนท์ ณัฐวุฒิ เทือกสุบรรณ |
author_sort |
ปริศนา ปริพัฒนานนท์ |
title |
วัสดุทดแทนกระดูกและสารโครงร่างสำหรับการสร้างกระดูกใหม่ |
title_short |
วัสดุทดแทนกระดูกและสารโครงร่างสำหรับการสร้างกระดูกใหม่ |
title_full |
วัสดุทดแทนกระดูกและสารโครงร่างสำหรับการสร้างกระดูกใหม่ |
title_fullStr |
วัสดุทดแทนกระดูกและสารโครงร่างสำหรับการสร้างกระดูกใหม่ |
title_full_unstemmed |
วัสดุทดแทนกระดูกและสารโครงร่างสำหรับการสร้างกระดูกใหม่ |
title_sort |
วัสดุทดแทนกระดูกและสารโครงร่างสำหรับการสร้างกระดูกใหม่ |
publisher |
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |
publishDate |
2025 |
url |
https://tnrr.nriis.go.th/#/research/1018096 http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19635 |
_version_ |
1821269965584465920 |