การประยุกต์ใช้สารลดแรงตึงผิวเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตก๊าซมีเทนและไฮโดรเจนในระบบบำบัดไร้อากาศของน้ำเสียอุตสาหกรรมที่ปนเปื้อนด้วยน้ำมัน

งานวิจัยศึกษาการผลิตก๊ชไฮโดรเจนจากน้ำเสียที่ปนเปื้อนด้วยน้ำมันจากโรงงานสกัดน้ำมันปาล์ม โดยใช้เทคโนโลยีการบำบัดน้ำเสียแบบไร้อากาศระบU Anaerobic Sequencing Batch Reactor (ASBR) ร่วมกับการใช้สารลดแรงตึงผิว (Surfactant โดยเบื้องต้นศึกษาผลของชนิดสารลดแรงตึงผิวประเภทไม่มีประจุ สองชนิด คือ Titon X-100 และ...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: สุรัสวดี กังสนันท์, สุเมธ ไชยประพัทธ์, ปิยะรัตน์ บุญแสวง
Other Authors: Faculty of Engineering Chemical Engineering
Format: Technical Report
Language:Thai
Published: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 2025
Subjects:
Online Access:https://tnrr.nriis.go.th/#/research/1032122
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19638
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Prince of Songkhla University
Language: Thai
id th-psu.2016-19638
record_format dspace
spelling th-psu.2016-196382025-01-07T08:57:33Z การประยุกต์ใช้สารลดแรงตึงผิวเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตก๊าซมีเทนและไฮโดรเจนในระบบบำบัดไร้อากาศของน้ำเสียอุตสาหกรรมที่ปนเปื้อนด้วยน้ำมัน Application of surfactant for enhancing methane and hydrogen production in anaerobic digester of industrial oily wastewater สุรัสวดี กังสนันท์ สุเมธ ไชยประพัทธ์ ปิยะรัตน์ บุญแสวง Faculty of Engineering Chemical Engineering คณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมเคมี Faculty of Engineering Civil Engineering คณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา Faculty of Agro-Industry (Industrial Biotechnology) คณะอุตสาหกรรมเกษตร ภาควิชาเทคโนโลยีชีวภาพอุตสาหกรรม ไฮโดรเจน น้ำเสีย น้ำมันปาล์ม งานวิจัยศึกษาการผลิตก๊ชไฮโดรเจนจากน้ำเสียที่ปนเปื้อนด้วยน้ำมันจากโรงงานสกัดน้ำมันปาล์ม โดยใช้เทคโนโลยีการบำบัดน้ำเสียแบบไร้อากาศระบU Anaerobic Sequencing Batch Reactor (ASBR) ร่วมกับการใช้สารลดแรงตึงผิว (Surfactant โดยเบื้องต้นศึกษาผลของชนิดสารลดแรงตึงผิวประเภทไม่มีประจุ สองชนิด คือ Titon X-100 และ Tergitol 15 5-9 ต่อประสิทธิภาพการละลายของน้ำมันในน้ำ เพื่อนำไปสู่ การศึกษาการผลิตก๊าซไฮโดรเจนจากน้ำเสียที่ปนเปื้อนน้ำมัน โดยการทดลองศึกษา ณ ช่วงความเข้มข้นสารลด แรงตึงผิว 0-240 CMC และ อุณหภูมิ 28 -70 *C โดยใช้น้ำเสียสังเคราะห์ พบว่าการเพิ่มความเข้มข้นสารลด- แรงตึงผิวในช่วง 0-100 CMC ร่วมกับการเพิ่มอุณหภูมิ สารลดแรงตึงผิวทั้งสองชนิดสามารถช่วยให้น้ำมัน สามารถละลายเข้ากับน้ำได้ดี ช่วยลดแรงตึงระหว่างผิวของน้ำมันและน้ำ ทำให้ระบบเข้าสู่สมดุลได้เร็วขึ้น โดย สภาวะที่เหมาะสมจากการทดลอง คือ ความเข้มข้นสารลดแรงตึงผิว 1 CMC และอุณหภูมิ 55 C ซึ่งจะเพิ่ม ความเข้มข้นของน้ำมันในน้ำได้ถึง 90-120 เท่า เมื่อเทียบกับระบบที่ปราศจากการเติมสารลดแรงตึงผิว หลังจากนั้นนำสภาวะของน้ำที่ได้ไปทดสอบการผลิตก๊ชไฮโดรเจน โดยทำการหมักน้ำเสีย สังคราะห์ ในสภาวะไร้อากาศแบบไร้แสง ณ ความเข้มข้นสารลดแรงตึงผิว 1 CMC ปริมาณน้ำมันมากเกินพอ อุณหภูมิ 55 *C พี่เอสสารละลาย 5.5 พบว่าระบบที่มีการเติมสารลดแรงตึงผิวชนิด Titon X-100 และชนิด Tergitol 15-5-9จะให้ปริมาณก๊ซไฮโดรเจนสูงกว่าระบบที่ปราศจากสารลดแรงตึงผิว สองและสามเท่า ตามลำดับ จากนั้นเลือกใช้สารลดแรงตึงผิวชนิด Tergitol 15-5-9 ในการศึกษาการผลิตก๊าชไฮโดรเจนร่วมกับ ก๊าซมีเทนแบบสองขั้นตอน ซึ่งในการทดลองส่วนนี้จะผลิตก๊ซจากน้ำเสียจริง โดยศึกษาที่สภาวะการหมักแบบ thermophilic ณ พี่เอสสารละลาย 5.5 พบว่า สภาวะที่เหมาะสม คือ ความเข้มข้นสารลดแรงตึงผิว 1 CMC โดยให้ปริมาณก๊าชไฮโดรเจนและก๊าซมีเทน 34.12 mL H/g COD และ 54.42 mL CH/g COD ตามลำดับ พลังงานทั้งหมดสูงสุด 1.074 KI/gVS และกรดไขมันระเหยที่พบในของเหลวของระบบส่วนใหญ่เป็นกรดบิวทิ- ริคและกรดอะซึติก ในส่วนสุดท้ายของการทดลองได้ประยุกต์ใช้สารลดแรงตึงผิวชนิด Tergitol 15 S 9 ในการผลิตก๊าช ไฮโดรเจนจากน้ำเสียโรงงานปาล์มน้ำมันในระบU ASBR ณ สภาวะ thermophilic pH 5.5 ที่อัตราการ รับภาระซีโอดีในช่วง 51.6- 134.8 ke/m day และ 48.54-125.97 Ke/m day โดยค่า HRT มีค่าระหว่าง 32 12.5 ชั่วโมงพบว่าระบบที่เติมสารลดแรงตึงผิวให้ประสิทธิภาพการผลิตก๊ซไฮโดรเจนสูงสุด 203.4 mL H2/gCODe ณ อัตรารับภาระซีโอดี ที่ 88.1 ke/m :โดยมีก๊าซไฮโดรเจนร้อยละ 41ของก๊าซทั้งหมด ขณะที่ระบบที่ปราศจากสารลดแรงตึงผิวให้ประสิทธิภาพการผลิตก๊าชไฮโดรเจนสูงสุด 176.8 mL H/gCOD(emowedณ อัตรารับภาระซึโอดี ที่ 82.6 kg/m d โดยมีก๊ซไฮโดรเจนร้อยละ 36 ของก๊าซทั้งหมด โดยทั้งสองระบบไม่พบก๊ซมีเทน และมีค่า HRT เท่ากับ 19 ชั่วโมง และนอกจากนี้ยังพบว่ากรดไขมันระเหยที่ พบในของเหลวของระบบส่วนใหญ่ป็นกรดบิวทิริค กรดอะซีติก และกรดคาโปรอิคเล็กน้อย นอกจากนี้งานวิจัย ยังมีการประเมินความคุ้มค่ทางเศรษฐศาสตร์เบื้องต้นของระบบที่มีการเติมสารลดแรงตึงผิวเทียบกับระบบที่ ปราศจากการเติมสารลดแรงตึงผิวอีกด้วย เพื่อพัฒนาแนวทางต่อยอดไปสู่การใช้ได้จริงเชิงพาณิชย์ 2025-01-07T08:51:00Z 2025-01-07T08:51:00Z 2558 Technical Report https://tnrr.nriis.go.th/#/research/1032122 http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19638 th มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
institution Prince of Songkhla University
building Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
collection PSU Knowledge Bank
language Thai
topic ไฮโดรเจน
น้ำเสีย
น้ำมันปาล์ม
spellingShingle ไฮโดรเจน
น้ำเสีย
น้ำมันปาล์ม
สุรัสวดี กังสนันท์
สุเมธ ไชยประพัทธ์
ปิยะรัตน์ บุญแสวง
การประยุกต์ใช้สารลดแรงตึงผิวเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตก๊าซมีเทนและไฮโดรเจนในระบบบำบัดไร้อากาศของน้ำเสียอุตสาหกรรมที่ปนเปื้อนด้วยน้ำมัน
description งานวิจัยศึกษาการผลิตก๊ชไฮโดรเจนจากน้ำเสียที่ปนเปื้อนด้วยน้ำมันจากโรงงานสกัดน้ำมันปาล์ม โดยใช้เทคโนโลยีการบำบัดน้ำเสียแบบไร้อากาศระบU Anaerobic Sequencing Batch Reactor (ASBR) ร่วมกับการใช้สารลดแรงตึงผิว (Surfactant โดยเบื้องต้นศึกษาผลของชนิดสารลดแรงตึงผิวประเภทไม่มีประจุ สองชนิด คือ Titon X-100 และ Tergitol 15 5-9 ต่อประสิทธิภาพการละลายของน้ำมันในน้ำ เพื่อนำไปสู่ การศึกษาการผลิตก๊าซไฮโดรเจนจากน้ำเสียที่ปนเปื้อนน้ำมัน โดยการทดลองศึกษา ณ ช่วงความเข้มข้นสารลด แรงตึงผิว 0-240 CMC และ อุณหภูมิ 28 -70 *C โดยใช้น้ำเสียสังเคราะห์ พบว่าการเพิ่มความเข้มข้นสารลด- แรงตึงผิวในช่วง 0-100 CMC ร่วมกับการเพิ่มอุณหภูมิ สารลดแรงตึงผิวทั้งสองชนิดสามารถช่วยให้น้ำมัน สามารถละลายเข้ากับน้ำได้ดี ช่วยลดแรงตึงระหว่างผิวของน้ำมันและน้ำ ทำให้ระบบเข้าสู่สมดุลได้เร็วขึ้น โดย สภาวะที่เหมาะสมจากการทดลอง คือ ความเข้มข้นสารลดแรงตึงผิว 1 CMC และอุณหภูมิ 55 C ซึ่งจะเพิ่ม ความเข้มข้นของน้ำมันในน้ำได้ถึง 90-120 เท่า เมื่อเทียบกับระบบที่ปราศจากการเติมสารลดแรงตึงผิว หลังจากนั้นนำสภาวะของน้ำที่ได้ไปทดสอบการผลิตก๊ชไฮโดรเจน โดยทำการหมักน้ำเสีย สังคราะห์ ในสภาวะไร้อากาศแบบไร้แสง ณ ความเข้มข้นสารลดแรงตึงผิว 1 CMC ปริมาณน้ำมันมากเกินพอ อุณหภูมิ 55 *C พี่เอสสารละลาย 5.5 พบว่าระบบที่มีการเติมสารลดแรงตึงผิวชนิด Titon X-100 และชนิด Tergitol 15-5-9จะให้ปริมาณก๊ซไฮโดรเจนสูงกว่าระบบที่ปราศจากสารลดแรงตึงผิว สองและสามเท่า ตามลำดับ จากนั้นเลือกใช้สารลดแรงตึงผิวชนิด Tergitol 15-5-9 ในการศึกษาการผลิตก๊าชไฮโดรเจนร่วมกับ ก๊าซมีเทนแบบสองขั้นตอน ซึ่งในการทดลองส่วนนี้จะผลิตก๊ซจากน้ำเสียจริง โดยศึกษาที่สภาวะการหมักแบบ thermophilic ณ พี่เอสสารละลาย 5.5 พบว่า สภาวะที่เหมาะสม คือ ความเข้มข้นสารลดแรงตึงผิว 1 CMC โดยให้ปริมาณก๊าชไฮโดรเจนและก๊าซมีเทน 34.12 mL H/g COD และ 54.42 mL CH/g COD ตามลำดับ พลังงานทั้งหมดสูงสุด 1.074 KI/gVS และกรดไขมันระเหยที่พบในของเหลวของระบบส่วนใหญ่เป็นกรดบิวทิ- ริคและกรดอะซึติก ในส่วนสุดท้ายของการทดลองได้ประยุกต์ใช้สารลดแรงตึงผิวชนิด Tergitol 15 S 9 ในการผลิตก๊าช ไฮโดรเจนจากน้ำเสียโรงงานปาล์มน้ำมันในระบU ASBR ณ สภาวะ thermophilic pH 5.5 ที่อัตราการ รับภาระซีโอดีในช่วง 51.6- 134.8 ke/m day และ 48.54-125.97 Ke/m day โดยค่า HRT มีค่าระหว่าง 32 12.5 ชั่วโมงพบว่าระบบที่เติมสารลดแรงตึงผิวให้ประสิทธิภาพการผลิตก๊ซไฮโดรเจนสูงสุด 203.4 mL H2/gCODe ณ อัตรารับภาระซีโอดี ที่ 88.1 ke/m :โดยมีก๊าซไฮโดรเจนร้อยละ 41ของก๊าซทั้งหมด ขณะที่ระบบที่ปราศจากสารลดแรงตึงผิวให้ประสิทธิภาพการผลิตก๊าชไฮโดรเจนสูงสุด 176.8 mL H/gCOD(emowedณ อัตรารับภาระซึโอดี ที่ 82.6 kg/m d โดยมีก๊ซไฮโดรเจนร้อยละ 36 ของก๊าซทั้งหมด โดยทั้งสองระบบไม่พบก๊ซมีเทน และมีค่า HRT เท่ากับ 19 ชั่วโมง และนอกจากนี้ยังพบว่ากรดไขมันระเหยที่ พบในของเหลวของระบบส่วนใหญ่ป็นกรดบิวทิริค กรดอะซีติก และกรดคาโปรอิคเล็กน้อย นอกจากนี้งานวิจัย ยังมีการประเมินความคุ้มค่ทางเศรษฐศาสตร์เบื้องต้นของระบบที่มีการเติมสารลดแรงตึงผิวเทียบกับระบบที่ ปราศจากการเติมสารลดแรงตึงผิวอีกด้วย เพื่อพัฒนาแนวทางต่อยอดไปสู่การใช้ได้จริงเชิงพาณิชย์
author2 Faculty of Engineering Chemical Engineering
author_facet Faculty of Engineering Chemical Engineering
สุรัสวดี กังสนันท์
สุเมธ ไชยประพัทธ์
ปิยะรัตน์ บุญแสวง
format Technical Report
author สุรัสวดี กังสนันท์
สุเมธ ไชยประพัทธ์
ปิยะรัตน์ บุญแสวง
author_sort สุรัสวดี กังสนันท์
title การประยุกต์ใช้สารลดแรงตึงผิวเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตก๊าซมีเทนและไฮโดรเจนในระบบบำบัดไร้อากาศของน้ำเสียอุตสาหกรรมที่ปนเปื้อนด้วยน้ำมัน
title_short การประยุกต์ใช้สารลดแรงตึงผิวเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตก๊าซมีเทนและไฮโดรเจนในระบบบำบัดไร้อากาศของน้ำเสียอุตสาหกรรมที่ปนเปื้อนด้วยน้ำมัน
title_full การประยุกต์ใช้สารลดแรงตึงผิวเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตก๊าซมีเทนและไฮโดรเจนในระบบบำบัดไร้อากาศของน้ำเสียอุตสาหกรรมที่ปนเปื้อนด้วยน้ำมัน
title_fullStr การประยุกต์ใช้สารลดแรงตึงผิวเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตก๊าซมีเทนและไฮโดรเจนในระบบบำบัดไร้อากาศของน้ำเสียอุตสาหกรรมที่ปนเปื้อนด้วยน้ำมัน
title_full_unstemmed การประยุกต์ใช้สารลดแรงตึงผิวเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตก๊าซมีเทนและไฮโดรเจนในระบบบำบัดไร้อากาศของน้ำเสียอุตสาหกรรมที่ปนเปื้อนด้วยน้ำมัน
title_sort การประยุกต์ใช้สารลดแรงตึงผิวเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตก๊าซมีเทนและไฮโดรเจนในระบบบำบัดไร้อากาศของน้ำเสียอุตสาหกรรมที่ปนเปื้อนด้วยน้ำมัน
publisher มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
publishDate 2025
url https://tnrr.nriis.go.th/#/research/1032122
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19638
_version_ 1823020687447556096