Bioactive compounds from lichen usnea aciculifera vain and usnic acid conjugates

การศึกษาองค์ประกอบทางเคมีของไลเคน Usnea aciculifera Vain นำไปสู่การค้นพบไดเมอริกแซนโทน ชนิดใหม่ 9 สาร usneaxanthones A-I (36–44) และสารที่เคยมีรายงานแล้วอีก 36 สาร ได้วิเคราะห์โครงสร้างเคมีของสารที่แยกได้ด้วยวิธีการผสมผสานของข้อมูลสเปกโทรสโกปี (1D, 2D NMR, HRESIMS ECD และ single-crystal X-ray crysta...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: Truong Tuong Lam
Other Authors: Warinthorn Chavasiri
Format: Theses and Dissertations
Language:English
Published: Chulalongkorn University 2019
Subjects:
Online Access:https://digiverse.chula.ac.th/Info/item/dc:36434
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: English
id 36434
record_format dspace
spelling 364342024-02-23T09:15:30Z https://digiverse.chula.ac.th/Info/item/dc:36434 ©Chulalongkorn University Thesis 10.58837/CHULA.THE.2019.129 eng Truong Tuong Lam Bioactive compounds from lichen usnea aciculifera vain and usnic acid conjugates สารออกฤทธิ์ทางชีวภาพจากไลเคน Usnea aciculifera Vain และคอนจูเกตของกรดอูสนิก Chulalongkorn University 2019 2019 การศึกษาองค์ประกอบทางเคมีของไลเคน Usnea aciculifera Vain นำไปสู่การค้นพบไดเมอริกแซนโทน ชนิดใหม่ 9 สาร usneaxanthones A-I (36–44) และสารที่เคยมีรายงานแล้วอีก 36 สาร ได้วิเคราะห์โครงสร้างเคมีของสารที่แยกได้ด้วยวิธีการผสมผสานของข้อมูลสเปกโทรสโกปี (1D, 2D NMR, HRESIMS ECD และ single-crystal X-ray crystallographic analyses) รวมถึงการเปรียบเทียบกับข้อมูล NMR ของสารที่เคยมีรายงานแล้ว ได้ทดสอบฤทธิ์ทางชีวภาพของสารที่แยกได้ ได้แก่ การยับยั้งแบคทีเรีย ยับยั้งไวรัสไข้เลือดออก และความเป็นพิษต่อเซลล์ พบว่า เดปไซด์บางชนิด มีโอกาสนำไปสู่การพัฒนาเป็นสารยับยั้งแบคทีเรีย และยับยั้งไวรัสไข้เลือดออกได้ ยังพบอีกว่าไดเมอริกแซนโทนมีความเป็นพิษต่อเซลล์มะเร็งชนิด HT-29, HCT116, MCF-7 และ A549 มีค่า IC50 ในช่วง 2.41 ถึง 9.86 µMจากการแยกสารทั้งหมดพบว่า กรดอูสนิกเป็นองค์ประกอบหลัก จึงสังเคราะห์อนุพันธ์ของกรดอูสนิก 25 ชนิด (UA01–UA25) เมื่อทดสอบฤทธิ์ α-glucosidase พบว่า UA01, UA03–UA04, UA06, UA11–UA13 และ UA17-UA18 สามารถยับยั้ง α-glucosidase ด้วยค่า IC50 ระหว่าง 14.51–99.04 µM โดยใช้ acarbose (IC50 93.6 µM) เป็นสารมาตรฐาน Phytochemical investigation of lichen Usnea aciculifera Vain led to the isolation of nine new dimeric xanthones, usneaxanthones A-I (36–44), along with 36 known compounds (1–35, 45). The chemical structures of the isolated compounds were elucidated by a combination spectroscopic data (1D, 2D NMR, HRESIMS), ECD experiments, and single-crystal X-ray as well as comparison of their NMR data with those in the literature. The biological activities of isolated compounds were evaluated for antibacterial, anti-dengue and cytotoxic activites. The results revealed that depsides may have potential as lead compounds for the development of new antibacterial and anti-dengue agents. Futhermore, dimeric xanthones exhibited highly potent cytotoxicity against HT-29, HCT116, MCF-7 and A549 cancer cell lines with IC50 values ranging from 2.41 to 9.86 μM. Among isolated compounds, usnic acid was obtained as a major compound. Twenty-five usnic acid derivatives (UA01–UA25) were synthesized and evaluated on α-glucosidase activity. UA02, UA06, UA08, UA11–UA14, UA16–UA17 and UA24–UA25 were identified as new semisynthetic compounds. For α-glucosidase activity, UA01, UA03–UA04, UA06, UA11–UA13 and UA17–UA18 exhibited potential activity with IC50 from 14.51–99.04 µM compared with acarbose (IC50 93.6 µM) as a positive control. 233 pages Lichens Bioactive compounds ไลเคน สารออกฤทธิ์ทางชีวภาพ Warinthorn Chavasiri https://digiverse.chula.ac.th/digital/file_upload/biblio/cover/36434.jpg
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Chulalongkorn University Library
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language English
topic Lichens
Bioactive compounds
ไลเคน
สารออกฤทธิ์ทางชีวภาพ
spellingShingle Lichens
Bioactive compounds
ไลเคน
สารออกฤทธิ์ทางชีวภาพ
Truong Tuong Lam
Bioactive compounds from lichen usnea aciculifera vain and usnic acid conjugates
description การศึกษาองค์ประกอบทางเคมีของไลเคน Usnea aciculifera Vain นำไปสู่การค้นพบไดเมอริกแซนโทน ชนิดใหม่ 9 สาร usneaxanthones A-I (36–44) และสารที่เคยมีรายงานแล้วอีก 36 สาร ได้วิเคราะห์โครงสร้างเคมีของสารที่แยกได้ด้วยวิธีการผสมผสานของข้อมูลสเปกโทรสโกปี (1D, 2D NMR, HRESIMS ECD และ single-crystal X-ray crystallographic analyses) รวมถึงการเปรียบเทียบกับข้อมูล NMR ของสารที่เคยมีรายงานแล้ว ได้ทดสอบฤทธิ์ทางชีวภาพของสารที่แยกได้ ได้แก่ การยับยั้งแบคทีเรีย ยับยั้งไวรัสไข้เลือดออก และความเป็นพิษต่อเซลล์ พบว่า เดปไซด์บางชนิด มีโอกาสนำไปสู่การพัฒนาเป็นสารยับยั้งแบคทีเรีย และยับยั้งไวรัสไข้เลือดออกได้ ยังพบอีกว่าไดเมอริกแซนโทนมีความเป็นพิษต่อเซลล์มะเร็งชนิด HT-29, HCT116, MCF-7 และ A549 มีค่า IC50 ในช่วง 2.41 ถึง 9.86 µMจากการแยกสารทั้งหมดพบว่า กรดอูสนิกเป็นองค์ประกอบหลัก จึงสังเคราะห์อนุพันธ์ของกรดอูสนิก 25 ชนิด (UA01–UA25) เมื่อทดสอบฤทธิ์ α-glucosidase พบว่า UA01, UA03–UA04, UA06, UA11–UA13 และ UA17-UA18 สามารถยับยั้ง α-glucosidase ด้วยค่า IC50 ระหว่าง 14.51–99.04 µM โดยใช้ acarbose (IC50 93.6 µM) เป็นสารมาตรฐาน
author2 Warinthorn Chavasiri
author_facet Warinthorn Chavasiri
Truong Tuong Lam
format Theses and Dissertations
author Truong Tuong Lam
author_sort Truong Tuong Lam
title Bioactive compounds from lichen usnea aciculifera vain and usnic acid conjugates
title_short Bioactive compounds from lichen usnea aciculifera vain and usnic acid conjugates
title_full Bioactive compounds from lichen usnea aciculifera vain and usnic acid conjugates
title_fullStr Bioactive compounds from lichen usnea aciculifera vain and usnic acid conjugates
title_full_unstemmed Bioactive compounds from lichen usnea aciculifera vain and usnic acid conjugates
title_sort bioactive compounds from lichen usnea aciculifera vain and usnic acid conjugates
publisher Chulalongkorn University
publishDate 2019
url https://digiverse.chula.ac.th/Info/item/dc:36434
_version_ 1829257901244416000