การกลายเป็นคาไวยากรณ์ของคาว่า “ยัง” = Grammaticalization of /jaŋ/
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพัฒนาการของคาว่า “ยัง” ตั้งแต่สมัยสุโขทัยต่อเนื่องมาจนถึงสมัยปัจจุบัน โดยใช้แนวคิดทฤษฎีเรื่องการกลายเป็นคาไวยากรณ์ (grammaticalization) มาช่วยในการวิเคราะห์ ผลการศึกษาพบว่าเส้นทางการกลายเป็นคาไวยากรณ์ของคาว่า “ยัง” มี 2 เส้นทางหลัก เส้นทางแรก เริ่มจากคาเนื้อหาอย่างคา...
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Article |
Language: | other |
Published: |
2021
|
Subjects: | |
Online Access: | https://hdl.handle.net/10356/146161 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Nanyang Technological University |
Language: | other |
Summary: | บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพัฒนาการของคาว่า “ยัง” ตั้งแต่สมัยสุโขทัยต่อเนื่องมาจนถึงสมัยปัจจุบัน โดยใช้แนวคิดทฤษฎีเรื่องการกลายเป็นคาไวยากรณ์ (grammaticalization) มาช่วยในการวิเคราะห์ ผลการศึกษาพบว่าเส้นทางการกลายเป็นคาไวยากรณ์ของคาว่า “ยัง” มี 2 เส้นทางหลัก เส้นทางแรก เริ่มจากคาเนื้อหาอย่างคากริยา “ยัง” ที่หมายถึง ‘มีอยู่’ ได้พัฒนาไปเป็นคาไวยากรณ์ต่าง ๆ ได้แก่ คาช่วยกริยา คาเชื่อมอนุพากย์ และคากริยาการีต ส่วนอีกเส้นทางหนึ่ง เริ่มจากคาเนื้อหาเช่นกัน ได้แก่ คากริยา “ยัง” ที่หมายถึง ‘อยู่ ณ ที่ใดที่หนึ่ง’ โดยได้พัฒนาไปเป็นคาไวยากรณ์อย่างคาบุพบท ถึงแม้ว่าการกลายเป็นคาไวยากรณ์ของคาว่า “ยัง” จะแยกออกเป็น 2 เส้นทาง แต่ก็ยังถือว่ามีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน เนื่องจากคากริยาต้นกาเนิดของแต่ละเส้นทางมีความสัมพันธ์กันทางความหมาย คือ ต่างก็แสดงถึง ‘สภาพที่มีอยู่’. The article aims at investigating the development of the word /jaŋ/ from the Sukhothai period
right up until the present time using the grammaticalization theory. It is found that the historical
development of /jaŋ/ has two main pathways: (1) the lexical verb /jaŋ/ meaning ‘to exist’ as the original
word, and then develop into three grammatical words which are the auxiliary, conjunction, and causative
marker, and (2) The transition from the lexical verb /jaŋ/ meaning ‘to stay or to be in/at’ into the preposition.
The two main pathways are related since the original verbs share the identical core meaning, i.e.
‘persistent state’. |
---|