การกลายเป็นคาไวยากรณ์ของคาว่า “ยัง” = Grammaticalization of /jaŋ/

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพัฒนาการของคาว่า “ยัง” ตั้งแต่สมัยสุโขทัยต่อเนื่องมาจนถึงสมัยปัจจุบัน โดยใช้แนวคิดทฤษฎีเรื่องการกลายเป็นคาไวยากรณ์ (grammaticalization) มาช่วยในการวิเคราะห์ ผลการศึกษาพบว่าเส้นทางการกลายเป็นคาไวยากรณ์ของคาว่า “ยัง” มี 2 เส้นทางหลัก เส้นทางแรก เริ่มจากคาเนื้อหาอย่างคา...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: Jaratjarungkiat, Sureenate
Other Authors: School of Humanities
Format: Article
Language:other
Published: 2021
Subjects:
Online Access:https://hdl.handle.net/10356/146161
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Nanyang Technological University
Language: other
id sg-ntu-dr.10356-146161
record_format dspace
spelling sg-ntu-dr.10356-1461612023-03-11T20:05:38Z การกลายเป็นคาไวยากรณ์ของคาว่า “ยัง” = Grammaticalization of /jaŋ/ Jaratjarungkiat, Sureenate School of Humanities Humanities::Language Historical Linguistics Language Change บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพัฒนาการของคาว่า “ยัง” ตั้งแต่สมัยสุโขทัยต่อเนื่องมาจนถึงสมัยปัจจุบัน โดยใช้แนวคิดทฤษฎีเรื่องการกลายเป็นคาไวยากรณ์ (grammaticalization) มาช่วยในการวิเคราะห์ ผลการศึกษาพบว่าเส้นทางการกลายเป็นคาไวยากรณ์ของคาว่า “ยัง” มี 2 เส้นทางหลัก เส้นทางแรก เริ่มจากคาเนื้อหาอย่างคากริยา “ยัง” ที่หมายถึง ‘มีอยู่’ ได้พัฒนาไปเป็นคาไวยากรณ์ต่าง ๆ ได้แก่ คาช่วยกริยา คาเชื่อมอนุพากย์ และคากริยาการีต ส่วนอีกเส้นทางหนึ่ง เริ่มจากคาเนื้อหาเช่นกัน ได้แก่ คากริยา “ยัง” ที่หมายถึง ‘อยู่ ณ ที่ใดที่หนึ่ง’ โดยได้พัฒนาไปเป็นคาไวยากรณ์อย่างคาบุพบท ถึงแม้ว่าการกลายเป็นคาไวยากรณ์ของคาว่า “ยัง” จะแยกออกเป็น 2 เส้นทาง แต่ก็ยังถือว่ามีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน เนื่องจากคากริยาต้นกาเนิดของแต่ละเส้นทางมีความสัมพันธ์กันทางความหมาย คือ ต่างก็แสดงถึง ‘สภาพที่มีอยู่’. The article aims at investigating the development of the word /jaŋ/ from the Sukhothai period right up until the present time using the grammaticalization theory. It is found that the historical development of /jaŋ/ has two main pathways: (1) the lexical verb /jaŋ/ meaning ‘to exist’ as the original word, and then develop into three grammatical words which are the auxiliary, conjunction, and causative marker, and (2) The transition from the lexical verb /jaŋ/ meaning ‘to stay or to be in/at’ into the preposition. The two main pathways are related since the original verbs share the identical core meaning, i.e. ‘persistent state’. Accepted version 2021-01-28T07:24:27Z 2021-01-28T07:24:27Z 2018 Journal Article Jaratjarungkiat, S. (2018). การกลายเป็นคาไวยากรณ์ของคาว่า “ยัง” = Grammaticalization of /jaŋ/. วารสารภาษาและภาษาศาสตร์ Journal of Language and Linguistics, 35(2), 97-120. 0857-1406 https://hdl.handle.net/10356/146161 2 35 97 120 other วารสารภาษาและภาษาศาสตร์ Journal of Language and Linguistics © 2017 Language and Linguistics, published by Department of English and Linguistics, Faculty of Liberal Arts, Thammasat University. All rights reserved. application/pdf
institution Nanyang Technological University
building NTU Library
continent Asia
country Singapore
Singapore
content_provider NTU Library
collection DR-NTU
language other
topic Humanities::Language
Historical Linguistics
Language Change
spellingShingle Humanities::Language
Historical Linguistics
Language Change
Jaratjarungkiat, Sureenate
การกลายเป็นคาไวยากรณ์ของคาว่า “ยัง” = Grammaticalization of /jaŋ/
description บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพัฒนาการของคาว่า “ยัง” ตั้งแต่สมัยสุโขทัยต่อเนื่องมาจนถึงสมัยปัจจุบัน โดยใช้แนวคิดทฤษฎีเรื่องการกลายเป็นคาไวยากรณ์ (grammaticalization) มาช่วยในการวิเคราะห์ ผลการศึกษาพบว่าเส้นทางการกลายเป็นคาไวยากรณ์ของคาว่า “ยัง” มี 2 เส้นทางหลัก เส้นทางแรก เริ่มจากคาเนื้อหาอย่างคากริยา “ยัง” ที่หมายถึง ‘มีอยู่’ ได้พัฒนาไปเป็นคาไวยากรณ์ต่าง ๆ ได้แก่ คาช่วยกริยา คาเชื่อมอนุพากย์ และคากริยาการีต ส่วนอีกเส้นทางหนึ่ง เริ่มจากคาเนื้อหาเช่นกัน ได้แก่ คากริยา “ยัง” ที่หมายถึง ‘อยู่ ณ ที่ใดที่หนึ่ง’ โดยได้พัฒนาไปเป็นคาไวยากรณ์อย่างคาบุพบท ถึงแม้ว่าการกลายเป็นคาไวยากรณ์ของคาว่า “ยัง” จะแยกออกเป็น 2 เส้นทาง แต่ก็ยังถือว่ามีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน เนื่องจากคากริยาต้นกาเนิดของแต่ละเส้นทางมีความสัมพันธ์กันทางความหมาย คือ ต่างก็แสดงถึง ‘สภาพที่มีอยู่’. The article aims at investigating the development of the word /jaŋ/ from the Sukhothai period right up until the present time using the grammaticalization theory. It is found that the historical development of /jaŋ/ has two main pathways: (1) the lexical verb /jaŋ/ meaning ‘to exist’ as the original word, and then develop into three grammatical words which are the auxiliary, conjunction, and causative marker, and (2) The transition from the lexical verb /jaŋ/ meaning ‘to stay or to be in/at’ into the preposition. The two main pathways are related since the original verbs share the identical core meaning, i.e. ‘persistent state’.
author2 School of Humanities
author_facet School of Humanities
Jaratjarungkiat, Sureenate
format Article
author Jaratjarungkiat, Sureenate
author_sort Jaratjarungkiat, Sureenate
title การกลายเป็นคาไวยากรณ์ของคาว่า “ยัง” = Grammaticalization of /jaŋ/
title_short การกลายเป็นคาไวยากรณ์ของคาว่า “ยัง” = Grammaticalization of /jaŋ/
title_full การกลายเป็นคาไวยากรณ์ของคาว่า “ยัง” = Grammaticalization of /jaŋ/
title_fullStr การกลายเป็นคาไวยากรณ์ของคาว่า “ยัง” = Grammaticalization of /jaŋ/
title_full_unstemmed การกลายเป็นคาไวยากรณ์ของคาว่า “ยัง” = Grammaticalization of /jaŋ/
title_sort การกลายเป็นคาไวยากรณ์ของคาว่า “ยัง” = grammaticalization of /jaŋ/
publishDate 2021
url https://hdl.handle.net/10356/146161
_version_ 1761781159684997120