การใช้บล็อกย่อยและเครื่องกลั่นไอน้ำในวิธีโมดิฟายด์คอมพรีเฮนซีฟสำหรับการวิเคราะห์ไนโตรเจนในปุ๋ย

วารสารเกษตร เป็นวารสารวิชาการของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยวารสารจะออกราย 4 เดือน (มกราคม พฤษภาคม และกันยายน) ซึ่งจะพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการสาขา เกษตรศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร สัตวแพทย์ และชีววิทยา ทั้งจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย และปัจจุบันวารสารเกษตรอยู่ในฐานข้อมูลระดับชาติ ศูนย์ดัชนีการ...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: พงศ์พัฒน์ วัยวัฒน์, กนกพันธ์ พันธุ์สมบัติ
Format: บทความวารสาร
Language:Tha
Published: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ 2019
Online Access:http://journal.agri.cmu.ac.th/pdf/J00115_C00847.pdf
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64322
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chiang Mai University
Language: Tha
id th-cmuir.6653943832-64322
record_format dspace
spelling th-cmuir.6653943832-643222019-05-07T10:02:02Z การใช้บล็อกย่อยและเครื่องกลั่นไอน้ำในวิธีโมดิฟายด์คอมพรีเฮนซีฟสำหรับการวิเคราะห์ไนโตรเจนในปุ๋ย Use of Digestion Block and Steam Distillation Apparatus in Modified Comprehensive Method for Nitrogen Analysis in Fertilizer พงศ์พัฒน์ วัยวัฒน์ กนกพันธ์ พันธุ์สมบัติ วารสารเกษตร เป็นวารสารวิชาการของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยวารสารจะออกราย 4 เดือน (มกราคม พฤษภาคม และกันยายน) ซึ่งจะพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการสาขา เกษตรศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร สัตวแพทย์ และชีววิทยา ทั้งจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย และปัจจุบันวารสารเกษตรอยู่ในฐานข้อมูลระดับชาติ ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI) ในการปรับเปลี่ยนวิธีโมดิฟายด์คอมพรีเฮนซีฟสำหรับไนโตรเจนในปุ๋ยไปใช้การย่อยโดยบล็อกและการกลั่นไอน้ำ มีการตั้งข้อสงสัยว่าโครเมียมบางรูปที่ใช้ในขั้นตอนการรีดักชันเกิดการรวมตัวกับแอมโมเนียมแล้วไม่แยกตัวออกจากกันจนหมด การศึกษาสภาวะการย่อยและการกลั่นโดยละเอียดจะสามารถแก้ปัญหาของสารเชิงซ้อนโครเมียมแอมโมเนียมและได้สภาวะที่เหมาะสมในการปรับเปลี่ยน ในการย่อยด้วยบล็อกด้วยการใช้อัตราส่วนของเกลือต่อกรด 1:1 และอุณหภูมิของบล็อก 400 oซ ทำให้อุณหภูมิของสารละลายขณะย่อยขึ้นไปถึง 376 oซ นอกจากนั้นถ้าย่อยต่อไปอีกหลังจากสารละลายใสแล้วอย่างต่ำ 45 นาทีแอมโมเนียมจะถูกปลดปล่อยจากสารเชิงซ้อนหมด สำหรับการกลั่นไอน้ำจำเป็นต้องกลั่น 10 นาทีหรือนานกว่านั้นเพื่อที่จะให้ไนโตรเจนออกมาหมด เมื่อพิจารณาจากสภาวะที่ปลดปล่อยแอมโมเนียมจากสารเชิงซ้อนได้หมดและมีประสิทธิภาพในการย่อยตัวอย่าง ขอแนะนำให้ใช้อัตราส่วนของเกลือต่อกรด 1:1 ย่อยในบล็อกที่อุณหภูมิ 400 oซ จนสารละลายใสและย่อยต่อไปอีก 75 นาที จากนั้นจึงกลั่นด้วยเครื่องกลั่นไอน้ำ 10 นาที 2019-05-07T10:02:02Z 2019-05-07T10:02:02Z 2555 บทความวารสาร 0857-0842 http://journal.agri.cmu.ac.th/pdf/J00115_C00847.pdf http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64322 Tha มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ
institution Chiang Mai University
building Chiang Mai University Library
country Thailand
collection CMU Intellectual Repository
language Tha
description วารสารเกษตร เป็นวารสารวิชาการของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยวารสารจะออกราย 4 เดือน (มกราคม พฤษภาคม และกันยายน) ซึ่งจะพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการสาขา เกษตรศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร สัตวแพทย์ และชีววิทยา ทั้งจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย และปัจจุบันวารสารเกษตรอยู่ในฐานข้อมูลระดับชาติ ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI)
format บทความวารสาร
author พงศ์พัฒน์ วัยวัฒน์
กนกพันธ์ พันธุ์สมบัติ
spellingShingle พงศ์พัฒน์ วัยวัฒน์
กนกพันธ์ พันธุ์สมบัติ
การใช้บล็อกย่อยและเครื่องกลั่นไอน้ำในวิธีโมดิฟายด์คอมพรีเฮนซีฟสำหรับการวิเคราะห์ไนโตรเจนในปุ๋ย
author_facet พงศ์พัฒน์ วัยวัฒน์
กนกพันธ์ พันธุ์สมบัติ
author_sort พงศ์พัฒน์ วัยวัฒน์
title การใช้บล็อกย่อยและเครื่องกลั่นไอน้ำในวิธีโมดิฟายด์คอมพรีเฮนซีฟสำหรับการวิเคราะห์ไนโตรเจนในปุ๋ย
title_short การใช้บล็อกย่อยและเครื่องกลั่นไอน้ำในวิธีโมดิฟายด์คอมพรีเฮนซีฟสำหรับการวิเคราะห์ไนโตรเจนในปุ๋ย
title_full การใช้บล็อกย่อยและเครื่องกลั่นไอน้ำในวิธีโมดิฟายด์คอมพรีเฮนซีฟสำหรับการวิเคราะห์ไนโตรเจนในปุ๋ย
title_fullStr การใช้บล็อกย่อยและเครื่องกลั่นไอน้ำในวิธีโมดิฟายด์คอมพรีเฮนซีฟสำหรับการวิเคราะห์ไนโตรเจนในปุ๋ย
title_full_unstemmed การใช้บล็อกย่อยและเครื่องกลั่นไอน้ำในวิธีโมดิฟายด์คอมพรีเฮนซีฟสำหรับการวิเคราะห์ไนโตรเจนในปุ๋ย
title_sort การใช้บล็อกย่อยและเครื่องกลั่นไอน้ำในวิธีโมดิฟายด์คอมพรีเฮนซีฟสำหรับการวิเคราะห์ไนโตรเจนในปุ๋ย
publisher มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ
publishDate 2019
url http://journal.agri.cmu.ac.th/pdf/J00115_C00847.pdf
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64322
_version_ 1681426060258836480