เซลล์ต้นกำเนิดตัวอ่อน : รายงานวิจัย
เนื่องจากการใช้เซลล์พี่เลี้ยงที่แยกได้จากตัวอ่อนของหนู เพื่อเลี้ยงเซลล์ต้นกำเนิดตัวอ่อนมนุษย์ มีความเสี่ยงต่อการปนเปื้อนของเชื้อโรคที่มาจากหนู ดังนั้น การศึกษาวิจัยจึงมีจุดประสงค์เพื่อสร้างเซลล์ต้นกำเนิดตัวอ่อนมนุษย์โดยใช้เซลล์พี่เลี้ยงที่แยกได้จากคน เซลล์พี่เลี้ยงชนิดไฟโบรบลาสแยกได้จากผิวหนังบริเวณ...
Saved in:
Main Authors: | , , , , |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Technical Report |
Language: | Thai |
Published: |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2009
|
Subjects: | |
Online Access: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11911 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chulalongkorn University |
Language: | Thai |
id |
th-cuir.11911 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-cuir.119112009-12-28T09:45:03Z เซลล์ต้นกำเนิดตัวอ่อน : รายงานวิจัย Embryonic stem cell กำธร พฤกษานานนท์ รัฐจักร รังสิวิวัฒน์ ปราณี นำชัยศรีค้า วิชชุดา อานนท์กิจพานิช ประมวล วีรุตมเสน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์ สเต็มเซลล์ตัวอ่อน เนื่องจากการใช้เซลล์พี่เลี้ยงที่แยกได้จากตัวอ่อนของหนู เพื่อเลี้ยงเซลล์ต้นกำเนิดตัวอ่อนมนุษย์ มีความเสี่ยงต่อการปนเปื้อนของเชื้อโรคที่มาจากหนู ดังนั้น การศึกษาวิจัยจึงมีจุดประสงค์เพื่อสร้างเซลล์ต้นกำเนิดตัวอ่อนมนุษย์โดยใช้เซลล์พี่เลี้ยงที่แยกได้จากคน เซลล์พี่เลี้ยงชนิดไฟโบรบลาสแยกได้จากผิวหนังบริเวณหน้าท้องของผู้หญิงที่เข้ารับการผ่าตัดทำคลอด ใช้ตัวอ่อนที่เกิดการปฎิสนธิภายนอกร่างกาย และผ่านการแช่แข็งจำนวนสิบตัวอ่อน เพื่อสร้างเซลล์ต้นกำเนิดตัวอ่อนมนุษย์กลุ่ม อินเนอร์เซลล์แมส (inner cell mass: ICM) ของตัวอ่อน 8 ตัวอ่อนถูกแยกออกจากเซลล์โทรเฟคโตเดิร์ม (trophectoderm: TE) โดยการใช้แท่งแก้วไปเปตขนาดเล็ก พบว่ามี หนึ่ง ICM outgrowth เจริญขึ้นมา และสองตัวอ่อนถูกเลี้ยงรวมกับเซลล์พี่เลี้ยงหลังจากที่ย่อยเอาเปลือกหุ้มตัวอ่อนออก พบว่ามี หนึ่ง ICM outgrowth เจริญขึ้นมา ผลการศึกษาสามารถสร้างเซลล์ต้นกำเนิดตัวอ่อนมนุษย์ (human embryonic stem-like cells: hES-like cells) ได้หนึ่งสายพันธุ์ เซลล์ที่มีลักษณะคล้ายเซลล์ต้นกำเนิดตัวอ่อนมนุษย์ที่สร้างได้นี้ มีลักษณะทางกายภาพที่เหมือนเซลล์ต้นกำเนิดตัวอ่อนมนุษย์ ให้ผลบวกต่อการทดสอบการย้อมสีทางอิมมูโนวิทยาต่อ Oct-4 และalkaline phospatase (AP) นอกจากนั้นยังสามารถถูกเหนี่ยวนำให้เปลี่ยนแปลงไปเป็น embryoid body (EB) และเซลล์ประสาท อย่างไรก็ตาม จะได้ทดสอบคุณลักษณะอื่นๆ และ การเหนี่ยวนำให้เซลล์ที่ทำหน้าที่จำเพาะของเซลล์ที่มีลักษณะคล้ายต้นกำเนิดตัวอ่อนที่สร้างได้นี้ในขั้นตอนต่อไป จากการศึกษานี้ทำให้ทราบว่าเซลล์ไฟโบรบลาสที่แยกได้จากผิวหนังของคน สามารถนำมาใช้เป็นเซลล์พี่เลี้ยงในการสร้างเซลล์ต้นกำเนิดตัวอ่อนมนุษย์ทดแทนเซลล์ที่แยกได้จากตัวอ่อนของหนู Using mouse embryonic fibroblasts (MEFs) as feeder cells to support the growth of human embryonic stem cells (hESCs) in vito, facing the risk of cross-contamination with animal or unknown pathogens. In this study, human adult fibroblasts (HAFs) were used as feeder cells to support the derivation of hESCs, HAFs were isolated from female abdominal skin underwent caesarean section. Ten frozen-thawed blastocysts were subjected to hESCs derivation. Inner cell mass (ICM) of eight blastocysts were mechanically removed from trophetoderm (TE) by fine-dawn glass pipette and one ICM outgrowth or primary hES-like cell line grew up. Two blastocysts were plated directly onto the feeder cells after zona pellucida removal and one ICM outgrowth grew up. Later, one hES-like cell line was derived from ICM that have been isolated mechanically. This hES-like cells basically exhibited common feature of hESCs and positively immunostained to Oct-4 and alkaline phosphatase (AP). Furthermore, hES-like cells were able to from embryoid body (EB) and differentiate into neuron cells. Additional characterization and differentiation of these hES-like cells are ongoing. This study suggested that, to derive hESCs for therapeutic pueposes, HAFs can an effective substitution for MEFs. ทุนอุดหนุนการวิจัยจากเงินงบประมาณแผ่นดิน ประจำปีงบประมาณ 2551 2009-12-28T09:45:02Z 2009-12-28T09:45:02Z 2551 Technical Report http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11911 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2358235 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
institution |
Chulalongkorn University |
building |
Chulalongkorn University Library |
country |
Thailand |
collection |
Chulalongkorn University Intellectual Repository |
language |
Thai |
topic |
สเต็มเซลล์ตัวอ่อน |
spellingShingle |
สเต็มเซลล์ตัวอ่อน กำธร พฤกษานานนท์ รัฐจักร รังสิวิวัฒน์ ปราณี นำชัยศรีค้า วิชชุดา อานนท์กิจพานิช ประมวล วีรุตมเสน เซลล์ต้นกำเนิดตัวอ่อน : รายงานวิจัย |
description |
เนื่องจากการใช้เซลล์พี่เลี้ยงที่แยกได้จากตัวอ่อนของหนู เพื่อเลี้ยงเซลล์ต้นกำเนิดตัวอ่อนมนุษย์ มีความเสี่ยงต่อการปนเปื้อนของเชื้อโรคที่มาจากหนู ดังนั้น การศึกษาวิจัยจึงมีจุดประสงค์เพื่อสร้างเซลล์ต้นกำเนิดตัวอ่อนมนุษย์โดยใช้เซลล์พี่เลี้ยงที่แยกได้จากคน เซลล์พี่เลี้ยงชนิดไฟโบรบลาสแยกได้จากผิวหนังบริเวณหน้าท้องของผู้หญิงที่เข้ารับการผ่าตัดทำคลอด ใช้ตัวอ่อนที่เกิดการปฎิสนธิภายนอกร่างกาย และผ่านการแช่แข็งจำนวนสิบตัวอ่อน เพื่อสร้างเซลล์ต้นกำเนิดตัวอ่อนมนุษย์กลุ่ม อินเนอร์เซลล์แมส (inner cell mass: ICM) ของตัวอ่อน 8 ตัวอ่อนถูกแยกออกจากเซลล์โทรเฟคโตเดิร์ม (trophectoderm: TE) โดยการใช้แท่งแก้วไปเปตขนาดเล็ก พบว่ามี หนึ่ง ICM outgrowth เจริญขึ้นมา และสองตัวอ่อนถูกเลี้ยงรวมกับเซลล์พี่เลี้ยงหลังจากที่ย่อยเอาเปลือกหุ้มตัวอ่อนออก พบว่ามี หนึ่ง ICM outgrowth เจริญขึ้นมา ผลการศึกษาสามารถสร้างเซลล์ต้นกำเนิดตัวอ่อนมนุษย์ (human embryonic stem-like cells: hES-like cells) ได้หนึ่งสายพันธุ์ เซลล์ที่มีลักษณะคล้ายเซลล์ต้นกำเนิดตัวอ่อนมนุษย์ที่สร้างได้นี้ มีลักษณะทางกายภาพที่เหมือนเซลล์ต้นกำเนิดตัวอ่อนมนุษย์ ให้ผลบวกต่อการทดสอบการย้อมสีทางอิมมูโนวิทยาต่อ Oct-4 และalkaline phospatase (AP) นอกจากนั้นยังสามารถถูกเหนี่ยวนำให้เปลี่ยนแปลงไปเป็น embryoid body (EB) และเซลล์ประสาท อย่างไรก็ตาม จะได้ทดสอบคุณลักษณะอื่นๆ และ การเหนี่ยวนำให้เซลล์ที่ทำหน้าที่จำเพาะของเซลล์ที่มีลักษณะคล้ายต้นกำเนิดตัวอ่อนที่สร้างได้นี้ในขั้นตอนต่อไป จากการศึกษานี้ทำให้ทราบว่าเซลล์ไฟโบรบลาสที่แยกได้จากผิวหนังของคน สามารถนำมาใช้เป็นเซลล์พี่เลี้ยงในการสร้างเซลล์ต้นกำเนิดตัวอ่อนมนุษย์ทดแทนเซลล์ที่แยกได้จากตัวอ่อนของหนู |
author2 |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์ |
author_facet |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์ กำธร พฤกษานานนท์ รัฐจักร รังสิวิวัฒน์ ปราณี นำชัยศรีค้า วิชชุดา อานนท์กิจพานิช ประมวล วีรุตมเสน |
format |
Technical Report |
author |
กำธร พฤกษานานนท์ รัฐจักร รังสิวิวัฒน์ ปราณี นำชัยศรีค้า วิชชุดา อานนท์กิจพานิช ประมวล วีรุตมเสน |
author_sort |
กำธร พฤกษานานนท์ |
title |
เซลล์ต้นกำเนิดตัวอ่อน : รายงานวิจัย |
title_short |
เซลล์ต้นกำเนิดตัวอ่อน : รายงานวิจัย |
title_full |
เซลล์ต้นกำเนิดตัวอ่อน : รายงานวิจัย |
title_fullStr |
เซลล์ต้นกำเนิดตัวอ่อน : รายงานวิจัย |
title_full_unstemmed |
เซลล์ต้นกำเนิดตัวอ่อน : รายงานวิจัย |
title_sort |
เซลล์ต้นกำเนิดตัวอ่อน : รายงานวิจัย |
publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
publishDate |
2009 |
url |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11911 |
_version_ |
1681409997777403904 |