การเฝ้าระวังการดื้อต่อยาฆ่าเชื้อและยาปฏิชีวนะของ Salmonella spp. และ Escherichia coli ในสายพันธุ์ที่แยกได้ในประเทศไทย : รายงานการวิจัย
แยก Salmonella enterica จำนวน 257 isolates และ Escherichia coli จำนวน 60 isolates จากตัวอย่างที่ได้จาก ไก่ สุกรและสิ่งแวดล้อมในฟาร์ม ทำการหาค่า minimal inhibitory concentration (MIC) ต่อยาปฏิชีวนะและยาฆ่าเชื้อ ได้แก่ ampicillin (AMP) chloramphenicol (CHP) ciprofloxacin (CIP) erythromycin (ERY) genta...
Saved in:
Main Authors: | , , |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Technical Report |
Language: | Thai |
Published: |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2010
|
Subjects: | |
Online Access: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11992 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chulalongkorn University |
Language: | Thai |
id |
th-cuir.11992 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Chulalongkorn University |
building |
Chulalongkorn University Library |
country |
Thailand |
collection |
Chulalongkorn University Intellectual Repository |
language |
Thai |
topic |
ซาลโมเนลลา เอสเคอริเคียโคไล การดื้อยา ยาฆ่าเชื้อ ปฏิชีวนะ |
spellingShingle |
ซาลโมเนลลา เอสเคอริเคียโคไล การดื้อยา ยาฆ่าเชื้อ ปฏิชีวนะ รุ่งทิพย์ ชวนชื่น พรเพ็ญ พัฒนโสภณ ศุภชัย เนื้อนวลสุวรรณ การเฝ้าระวังการดื้อต่อยาฆ่าเชื้อและยาปฏิชีวนะของ Salmonella spp. และ Escherichia coli ในสายพันธุ์ที่แยกได้ในประเทศไทย : รายงานการวิจัย |
description |
แยก Salmonella enterica จำนวน 257 isolates และ Escherichia coli จำนวน 60 isolates จากตัวอย่างที่ได้จาก ไก่ สุกรและสิ่งแวดล้อมในฟาร์ม ทำการหาค่า minimal inhibitory concentration (MIC) ต่อยาปฏิชีวนะและยาฆ่าเชื้อ ได้แก่ ampicillin (AMP) chloramphenicol (CHP) ciprofloxacin (CIP) erythromycin (ERY) gentamycin (GEN) tetracycline (TET) trmethoprim (TRI) benzalkonium chloride (BKC) chlorhexidine (CHX), copper sulfate (CuSO4) และ zinc chloride (ZnCl2) พบว่า salmonella 162 isolates (63.04%) และ E. coli 50 isolates (83.33%) ดื้อต่อยาปฏิชีวนะอย่างน้อยหนึ่งชนิด ค่า MIC ต่อ BKC, CHX, CUSO4 และ ZnCl2 เกาะกันเป็นกลุ่มใหญ่ โดยเชื้อทั้งหมดนี้ไวต่อ cyclohexane และการเติม CCCP ไม่ทำให้ค่า MIC ต่อ BKC และ CHX เปลี่ยนแปลง เมื่อตรวจหาการปรากฏของ ยีน qacE และ qacE[triangle]1 ใน Salmonella ที่มีค่า MIC ต่อ BKC สูงสุดและต่ำสุดจำนวน 127 isolates ไม่พบว่ามีการปรากฏของยีน qacE และพบยีน qacE[triangle]1 ใน 38 isolates (29.92%) ที่อาจอยู่และไม่อยู่บน class I integron เชื้อที่มียีน qacE[triangle]1 ไม่มีค่า MIC ต่อ BKC และยาปฏิชีวนะสูงกว่าเชื้อที่ไม่มียีน qacE[triangle]1นอกจากนี้ Salmonella สามารถถ่ายทอดยีนดื้อยาปฏิชีวนะไปยังแบคทีเรียชนิดอื่นได้ แต่ไม่พบการถ่ายทอดยีนที่ควบคุมการลดความไวต่อ BKC และ CHX การสัมผัส BKC ในระดับต่ำให้ mutant ที่มีค่า MIC ต่อยาฆ่าเชื้อชนิดนี้สูงขึ้นและความไวต่อ CHP และ ERY ลดลง โดยที่ CCCP ทำให้ค่า MIC เปลี่ยนแปลง ผลการวิจัยครั้งนี้แสดงให้เห็นว่า Salmonella และ E. coli ยังไม่พัฒนาการดื้อต่อยาฆ่าเชื้อและโลหะหนักที่ทดสอบ หรือมีการพัฒนาในระดับที่ยังไม่สูงนัก ระบบ AcrAB และระบบ efflux systems อื่นๆ ที่ใช้พลังงานจาก Proton Motif Force (PMF) ไม่มีบทบาทสำคัญต่อการลดความไวต่อ BKC และ CHX การใช้ BKC ในระดับต่ำทำให้เชื้อพัฒนาการดื้อยาข้ามต่อยาปฏิชีวนะได้ ซึ่งสนับสนุนว่าควรมีการวางมาตรการควบคุมการใช้ยาฆ่าเชื้ออย่างสุขุมรอบคอบเช่นกัน |
author2 |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสัตวแพทยศาสตร์ |
author_facet |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสัตวแพทยศาสตร์ รุ่งทิพย์ ชวนชื่น พรเพ็ญ พัฒนโสภณ ศุภชัย เนื้อนวลสุวรรณ |
format |
Technical Report |
author |
รุ่งทิพย์ ชวนชื่น พรเพ็ญ พัฒนโสภณ ศุภชัย เนื้อนวลสุวรรณ |
author_sort |
รุ่งทิพย์ ชวนชื่น |
title |
การเฝ้าระวังการดื้อต่อยาฆ่าเชื้อและยาปฏิชีวนะของ Salmonella spp. และ Escherichia coli ในสายพันธุ์ที่แยกได้ในประเทศไทย : รายงานการวิจัย |
title_short |
การเฝ้าระวังการดื้อต่อยาฆ่าเชื้อและยาปฏิชีวนะของ Salmonella spp. และ Escherichia coli ในสายพันธุ์ที่แยกได้ในประเทศไทย : รายงานการวิจัย |
title_full |
การเฝ้าระวังการดื้อต่อยาฆ่าเชื้อและยาปฏิชีวนะของ Salmonella spp. และ Escherichia coli ในสายพันธุ์ที่แยกได้ในประเทศไทย : รายงานการวิจัย |
title_fullStr |
การเฝ้าระวังการดื้อต่อยาฆ่าเชื้อและยาปฏิชีวนะของ Salmonella spp. และ Escherichia coli ในสายพันธุ์ที่แยกได้ในประเทศไทย : รายงานการวิจัย |
title_full_unstemmed |
การเฝ้าระวังการดื้อต่อยาฆ่าเชื้อและยาปฏิชีวนะของ Salmonella spp. และ Escherichia coli ในสายพันธุ์ที่แยกได้ในประเทศไทย : รายงานการวิจัย |
title_sort |
การเฝ้าระวังการดื้อต่อยาฆ่าเชื้อและยาปฏิชีวนะของ salmonella spp. และ escherichia coli ในสายพันธุ์ที่แยกได้ในประเทศไทย : รายงานการวิจัย |
publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
publishDate |
2010 |
url |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11992 |
_version_ |
1681409228981403648 |
spelling |
th-cuir.119922010-02-11T08:11:18Z การเฝ้าระวังการดื้อต่อยาฆ่าเชื้อและยาปฏิชีวนะของ Salmonella spp. และ Escherichia coli ในสายพันธุ์ที่แยกได้ในประเทศไทย : รายงานการวิจัย Monitoring of biocide and antibiotic resistance of Salmonella spp. and Escherichia coli isolated in Thailand รุ่งทิพย์ ชวนชื่น พรเพ็ญ พัฒนโสภณ ศุภชัย เนื้อนวลสุวรรณ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสัตวแพทยศาสตร์ สถาบันสุขภาพสัตว์แห่งชาติ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสัตวแพทยศาสตร์ ซาลโมเนลลา เอสเคอริเคียโคไล การดื้อยา ยาฆ่าเชื้อ ปฏิชีวนะ แยก Salmonella enterica จำนวน 257 isolates และ Escherichia coli จำนวน 60 isolates จากตัวอย่างที่ได้จาก ไก่ สุกรและสิ่งแวดล้อมในฟาร์ม ทำการหาค่า minimal inhibitory concentration (MIC) ต่อยาปฏิชีวนะและยาฆ่าเชื้อ ได้แก่ ampicillin (AMP) chloramphenicol (CHP) ciprofloxacin (CIP) erythromycin (ERY) gentamycin (GEN) tetracycline (TET) trmethoprim (TRI) benzalkonium chloride (BKC) chlorhexidine (CHX), copper sulfate (CuSO4) และ zinc chloride (ZnCl2) พบว่า salmonella 162 isolates (63.04%) และ E. coli 50 isolates (83.33%) ดื้อต่อยาปฏิชีวนะอย่างน้อยหนึ่งชนิด ค่า MIC ต่อ BKC, CHX, CUSO4 และ ZnCl2 เกาะกันเป็นกลุ่มใหญ่ โดยเชื้อทั้งหมดนี้ไวต่อ cyclohexane และการเติม CCCP ไม่ทำให้ค่า MIC ต่อ BKC และ CHX เปลี่ยนแปลง เมื่อตรวจหาการปรากฏของ ยีน qacE และ qacE[triangle]1 ใน Salmonella ที่มีค่า MIC ต่อ BKC สูงสุดและต่ำสุดจำนวน 127 isolates ไม่พบว่ามีการปรากฏของยีน qacE และพบยีน qacE[triangle]1 ใน 38 isolates (29.92%) ที่อาจอยู่และไม่อยู่บน class I integron เชื้อที่มียีน qacE[triangle]1 ไม่มีค่า MIC ต่อ BKC และยาปฏิชีวนะสูงกว่าเชื้อที่ไม่มียีน qacE[triangle]1นอกจากนี้ Salmonella สามารถถ่ายทอดยีนดื้อยาปฏิชีวนะไปยังแบคทีเรียชนิดอื่นได้ แต่ไม่พบการถ่ายทอดยีนที่ควบคุมการลดความไวต่อ BKC และ CHX การสัมผัส BKC ในระดับต่ำให้ mutant ที่มีค่า MIC ต่อยาฆ่าเชื้อชนิดนี้สูงขึ้นและความไวต่อ CHP และ ERY ลดลง โดยที่ CCCP ทำให้ค่า MIC เปลี่ยนแปลง ผลการวิจัยครั้งนี้แสดงให้เห็นว่า Salmonella และ E. coli ยังไม่พัฒนาการดื้อต่อยาฆ่าเชื้อและโลหะหนักที่ทดสอบ หรือมีการพัฒนาในระดับที่ยังไม่สูงนัก ระบบ AcrAB และระบบ efflux systems อื่นๆ ที่ใช้พลังงานจาก Proton Motif Force (PMF) ไม่มีบทบาทสำคัญต่อการลดความไวต่อ BKC และ CHX การใช้ BKC ในระดับต่ำทำให้เชื้อพัฒนาการดื้อยาข้ามต่อยาปฏิชีวนะได้ ซึ่งสนับสนุนว่าควรมีการวางมาตรการควบคุมการใช้ยาฆ่าเชื้ออย่างสุขุมรอบคอบเช่นกัน A total of 254 salmonella enteric and 60 escherichia coli were isolated from broilers, pigs and farm environment. They were tested for susceptibility to ampicillin (AMP) chloramphenicol (CHP) ciprofloxacin (CIP) erythromycin (ERY) gentamycin (GEN) tetracycline (TET) trmethoprim (TRI) benzakonium chloride (BKC) chlorhexidine (CHX), copper sulfate (CuSO4) and zinc chloride (ZnCl2) using the determination of minimal inhibitory concentrations (MIC). One hundred-sixty two salmonella isolates (63.04%) and 50 E. coli isolates (83.33%) were resistant to one antibiotic at least. The isolates formed one large population of MIC of BKC, CHX, CuSo4 and ZnCl2. All isolates were susceptible to cyclohexane. The addition of CCCP did not have an effect on MIC of BKC and CHX. A total of 128 salmonella isolates were examined for the presence of qacE and qacE[triangle]1genes. None was positive for qacE. The qacE[triangle]1 gene was detected in 38 of all (29.92%) and could be found either on or outside class 1 integron. The MICs of antibiotics and BKC of qacE[triangle]1-positive salmonella was not higher than those of negative strains. Salmonella isolates were able to transfer antibiotic resistance gene but not genes conferring BKC and CHX resistance. Exposure to sublethal level of BKC generated an isogenic mutant that showed the decreased susceptibilities to BKC, CHP and ERY. Addition of CCCP did not affect MIC of the mutant. The results in this study showed that salmonella and E. coli have not developed or have only to a limited degree resistance to disinfectants. As AcrAB and other efflux systems energized by PMF did not play a major role in decreased susceptibility to BKC and CHX. Cross-resistance between BKC and two antibiotics, CHP and ERY, does exist. The findings warrants the promotion of prudent uses of antiseptics. ทุนอุดหนุนการวิจัยจากเงินงบประมาณแผ่นดิน ประจำปีงบประมาณ 2549 2010-02-11T08:11:18Z 2010-02-11T08:11:18Z 2549 Technical Report http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11992 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 6107680 bytes application/pdf application/pdf ไทย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |