ผลลัพธ์ของการคลอดเองโดยธรรมชาติกับการเร่งคลอด : รายงานผลการวิจัย

การวิจัยเชิงพรรณนา (Descriptive Research) ครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเปรียบเทียบผลลัพธ์ของการคลอดที่เกิดกับผู้คลอดและทารกแรกเกิดและเปรียบเทียบความพึงพอใจในการคลอดระหว่างผู้ที่คลอดเองโดยธรรมชาติและผู้ที่คลอดแบบเร่งคลอด กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้คลอดที่รับไว้ในห้องคลอดโรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ คัดเล...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: สุชาดา รัชชุกูล
Other Authors: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพยาบาลศาสตร์
Format: Technical Report
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2010
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12354
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.12354
record_format dspace
spelling th-cuir.123542010-03-26T08:26:05Z ผลลัพธ์ของการคลอดเองโดยธรรมชาติกับการเร่งคลอด : รายงานผลการวิจัย The oucomes of active birth and augmentation of labor สุชาดา รัชชุกูล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพยาบาลศาสตร์ การคลอด ครรภ์ การวิจัยเชิงพรรณนา (Descriptive Research) ครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเปรียบเทียบผลลัพธ์ของการคลอดที่เกิดกับผู้คลอดและทารกแรกเกิดและเปรียบเทียบความพึงพอใจในการคลอดระหว่างผู้ที่คลอดเองโดยธรรมชาติและผู้ที่คลอดแบบเร่งคลอด กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้คลอดที่รับไว้ในห้องคลอดโรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ คัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจงได้จำนวน 727 คน แบ่งเป็นผู้คลอดเองโดยธรรมชาติ 136 คนและผู้คลอดแบบเร่งคลอด 136 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบประเมินผลลัพธ์การคลอดของผู้คลอดและทารกแรกเกิด และแบบสอบถามความถึงพอใจในการคลอด ตรวจสอบค่าความเที่ยงของเครื่องมือได้ 0.92 วิเคราะห์ของข้อมูลโดยใช้ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าไคสแควร์ (Chi square) และค่าที่ (Independent t-test) ผลการศึกษาสรุปได้ดังนี้ 1. ผลลัพธ์ของการคลอดในผู้คลอดระหว่างผู้คลอดเองโดยธรรมชาติกับผู้คลอดแบบเร่งคลอดพบว่า มีความแตกต่างกันใน 6 ตัวชี้วัด คือ วิธีการคลอด การได้รับสารน้ำเข้าเส้นเลือด การได้รับยาระงับปวดด การเกิดภาวะแทรกซ้อนในการคลอด ค่าใช้จ่ายในการรักษาและระยะเวลาที่สามของการคลอดอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนอี 2 ตัวชี้วัด คือ จำนวนการสูญเสียโลหิตในการคลอดและระยะเวลาที่อยู่ในโรงพยาบาลพบว่า ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. ผลลัพธ์ของการคลอดในทารกแรกเกิดระหว่างการคลอดเองโดยธรรมชาติและการคลอดแบบเร่งคลอดพบว่า ไม่มีความแตกต่างกันทั้ง 8 ตัวชี้วัด คือ ค่า blood gas ค่า apgar score ที่ 1 และ 5 นาที อัตราการเต้นของหัวใจทารกในครรภ์ ภาวะแทรกซ้อนจากการคลอด การบาดเจ็บจากการคลอด ภาวะตัวเหลืองแรกเกิด ระยะเวลาที่อยู่โรงพยาบาล และค่าใช้จ่ายในการรักษา 3. ความพึงพอใจในการคลอดทั้งของผู้คลอดเองโดยธรรมชาติและผู้คลอดแบบเร่งคลอดพบว่า อยู่ในระดับมาก (x [bar]= 3.74, S.D. = .57 และ x [bar] = 3.82, S.D. = .52 ตามลำดับ) และผลการเปรียบเทียบความพึงพอใจทั้งโดยรวมและรายด้านพบว่า ทั้ง 2 กลุ่มไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 This descriptive study was proposed to compare the birth outcomes and maternal birth satisfaction between a group of women experiencing active birth management and those who received oxytocin augmentation. A total of 272 women was included in this study. One hundred and thirty six women in each group were purposively selected form uncomplicated pregnant women who were admitted in labor room at Charonkrung Pracharak hospital. Research instruments composed of measures of maternal and neonatal birth outcomes and maternal birth satisfaction. The instruments were tested for reliability using Cronbach’s coefficient alpha (alpha = 0.92). Frequency, mean, standard deviation, chi-square, and independent t-test were used for data analysis. The results were as following: 1. The significantly differences in maternal birth outcomes were found between women experiencing active birth and those who received oxytocin augmentation in 6 indicators including birth method, Intravenous infusion management, pain relief medication, labor complication, hospital medical cost and duration of third stage of labor (p < .05). However, there were no differences in two indicators: amount of blood loss and length of hospital stay. 2. The neonatal birth outcomes as measured by 8 indicators including blood gas, apgar score at 1 and 5 minutes, fetal heart rate, birth complications, birth trauma, neonatal jaundice, length of hospital stay, and hospital medical cost were no statistically differences between the two groups. 3. High level of maternal birth satisfaction were found in women experiencing active birth and those who received oxytocin augmentation (x [bar] 3.74, S.D. = .57 and x[bar] = 3.82, S.D. = 52, respectively). In addition, there were no statistically differences between maternal birth satisfaction in the two groups. กองทุนรัชดาภิเษกสมโภช 2010-03-26T08:26:04Z 2010-03-26T08:26:04Z 2546 Technical Report http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12354 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 9252200 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic การคลอด
ครรภ์
spellingShingle การคลอด
ครรภ์
สุชาดา รัชชุกูล
ผลลัพธ์ของการคลอดเองโดยธรรมชาติกับการเร่งคลอด : รายงานผลการวิจัย
description การวิจัยเชิงพรรณนา (Descriptive Research) ครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเปรียบเทียบผลลัพธ์ของการคลอดที่เกิดกับผู้คลอดและทารกแรกเกิดและเปรียบเทียบความพึงพอใจในการคลอดระหว่างผู้ที่คลอดเองโดยธรรมชาติและผู้ที่คลอดแบบเร่งคลอด กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้คลอดที่รับไว้ในห้องคลอดโรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ คัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจงได้จำนวน 727 คน แบ่งเป็นผู้คลอดเองโดยธรรมชาติ 136 คนและผู้คลอดแบบเร่งคลอด 136 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบประเมินผลลัพธ์การคลอดของผู้คลอดและทารกแรกเกิด และแบบสอบถามความถึงพอใจในการคลอด ตรวจสอบค่าความเที่ยงของเครื่องมือได้ 0.92 วิเคราะห์ของข้อมูลโดยใช้ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าไคสแควร์ (Chi square) และค่าที่ (Independent t-test) ผลการศึกษาสรุปได้ดังนี้ 1. ผลลัพธ์ของการคลอดในผู้คลอดระหว่างผู้คลอดเองโดยธรรมชาติกับผู้คลอดแบบเร่งคลอดพบว่า มีความแตกต่างกันใน 6 ตัวชี้วัด คือ วิธีการคลอด การได้รับสารน้ำเข้าเส้นเลือด การได้รับยาระงับปวดด การเกิดภาวะแทรกซ้อนในการคลอด ค่าใช้จ่ายในการรักษาและระยะเวลาที่สามของการคลอดอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนอี 2 ตัวชี้วัด คือ จำนวนการสูญเสียโลหิตในการคลอดและระยะเวลาที่อยู่ในโรงพยาบาลพบว่า ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. ผลลัพธ์ของการคลอดในทารกแรกเกิดระหว่างการคลอดเองโดยธรรมชาติและการคลอดแบบเร่งคลอดพบว่า ไม่มีความแตกต่างกันทั้ง 8 ตัวชี้วัด คือ ค่า blood gas ค่า apgar score ที่ 1 และ 5 นาที อัตราการเต้นของหัวใจทารกในครรภ์ ภาวะแทรกซ้อนจากการคลอด การบาดเจ็บจากการคลอด ภาวะตัวเหลืองแรกเกิด ระยะเวลาที่อยู่โรงพยาบาล และค่าใช้จ่ายในการรักษา 3. ความพึงพอใจในการคลอดทั้งของผู้คลอดเองโดยธรรมชาติและผู้คลอดแบบเร่งคลอดพบว่า อยู่ในระดับมาก (x [bar]= 3.74, S.D. = .57 และ x [bar] = 3.82, S.D. = .52 ตามลำดับ) และผลการเปรียบเทียบความพึงพอใจทั้งโดยรวมและรายด้านพบว่า ทั้ง 2 กลุ่มไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
author2 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพยาบาลศาสตร์
author_facet จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพยาบาลศาสตร์
สุชาดา รัชชุกูล
format Technical Report
author สุชาดา รัชชุกูล
author_sort สุชาดา รัชชุกูล
title ผลลัพธ์ของการคลอดเองโดยธรรมชาติกับการเร่งคลอด : รายงานผลการวิจัย
title_short ผลลัพธ์ของการคลอดเองโดยธรรมชาติกับการเร่งคลอด : รายงานผลการวิจัย
title_full ผลลัพธ์ของการคลอดเองโดยธรรมชาติกับการเร่งคลอด : รายงานผลการวิจัย
title_fullStr ผลลัพธ์ของการคลอดเองโดยธรรมชาติกับการเร่งคลอด : รายงานผลการวิจัย
title_full_unstemmed ผลลัพธ์ของการคลอดเองโดยธรรมชาติกับการเร่งคลอด : รายงานผลการวิจัย
title_sort ผลลัพธ์ของการคลอดเองโดยธรรมชาติกับการเร่งคลอด : รายงานผลการวิจัย
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2010
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12354
_version_ 1681412069859000320