การพัฒนาหุ้นเต้านมจำลองเพื่อใช้ในการสอนตรวจเต้านมด้วยตนเอง (ระยะที่ 2 และ 3) : รายงานผลการวิจัย
การวิจัยนี้เป็นส่วนหนึ่งของโครงการพัฒนาหุ่นเต้านมจำลองเพื่อใช้ในการสอนตรวจเต้านมด้วยตนเอง มีรูปแบบการวิจัยแบ่งออกเป็น 2 ระยะคือ ระยะที่ 1 มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการยอมรับหุ่นเต้านมจำลองเพื่อใช้ประกอบการสอนตรวจเต้านมด้วยตนเองของพยาบาลวิชาชีพที่เป็นกลุ่มตัวอย่างจำนวน 30 คน ใช้การวิจัยแบบก่อนทดลอง (Pr...
Saved in:
Main Authors: | , , |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Technical Report |
Language: | Thai |
Published: |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2010
|
Subjects: | |
Online Access: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12560 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chulalongkorn University |
Language: | Thai |
id |
th-cuir.12560 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Chulalongkorn University |
building |
Chulalongkorn University Library |
country |
Thailand |
collection |
Chulalongkorn University Intellectual Repository |
language |
Thai |
topic |
เต้านม -- การตรวจ เต้านม -- มะเร็ง |
spellingShingle |
เต้านม -- การตรวจ เต้านม -- มะเร็ง ชมพูนุช โสภาจารีย์ สุชาดา รัชชุกูล ศราวุธ ริมดุสิต การพัฒนาหุ้นเต้านมจำลองเพื่อใช้ในการสอนตรวจเต้านมด้วยตนเอง (ระยะที่ 2 และ 3) : รายงานผลการวิจัย |
description |
การวิจัยนี้เป็นส่วนหนึ่งของโครงการพัฒนาหุ่นเต้านมจำลองเพื่อใช้ในการสอนตรวจเต้านมด้วยตนเอง มีรูปแบบการวิจัยแบ่งออกเป็น 2 ระยะคือ ระยะที่ 1 มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการยอมรับหุ่นเต้านมจำลองเพื่อใช้ประกอบการสอนตรวจเต้านมด้วยตนเองของพยาบาลวิชาชีพที่เป็นกลุ่มตัวอย่างจำนวน 30 คน ใช้การวิจัยแบบก่อนทดลอง (Pre-experimental design) ภายหลังการอบรมเชิงปฏิบัติการใช้สื่อหุ่นเต้านมจำลองในการสอนตรวจเต้านมด้วยตนเองทำการประเมินการยอมรับหุ่นเต้านมจำลองในกลุ่มทดลอง โดยใช้แบบประเมินการยอมรับหุ่นเต้านมจำลองที่มีค่าความเที่ยงครอนบาคเท่ากับ 0.86 ผลการศึกษาในระยะที่ 2 พบว่าพยาบาลวิชาชีพมีการยอมรับหุ่นเต้านมจำลองในระดับดี (M 35.7 SD 2.98) โดยมีการยอมรับมากที่สุดในด้านความสะดวกและประโยชน์ของการใช้หุ่นเต้านมจำลองในการสอนตรวจเต้านมด้วยตนเอง ระยะที่ 2 มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลการสอนโดยใช้หุ่นเต้านมจำลองต่อความรู้เกี่ยวกับการตรวจเต้านมด้วยตนเอง ทัศนคติต่อมะเร็งเต้านมและการตรวจเต้านมด้วยตนเอง และความสามารถของสตรีในการตรวจเต้านมด้วยตนเอง ใช้รูปแบบการวิจัยกึ่งทดลอง (Quasi experimental design) โดยพยาบาลวิชาชีพหลังจากผ่านการอบรมเชิงปฏิบัติการ ดำเนินการสอนสตรีตรวจเต้านมด้วยตนเอง แบ่งเป็นกลุ่มทดลองจำนวน 300 คน สอนโดยใช้สื่อหุ่นเต้านมจำลอง และกลุ่มควบคุมจำนวน 300 คนสอนโดยใช้สื่อภาพพลิก รวมกลุ่มตัวอย่างจำนวน 600 คน ซึ่งมีอายุเฉลี่ย 41.9 ปี (SD 11.25) ส่วนใหญ่สำเร็จการศึกษาในระดับต่ำกว่ามัธยมศึกษาตอนปลายและเกือบครึ่งหนึ่งไม่เคยมีประสบการณ์ตรวจเต้านมด้วยตนเอง พยาบาลวิชาชีพทำการประเมินความรู้เกี่ยวกับการตรวจเต้านมด้วยตนเอง ทัศนคติต่อมะเร็งเต้านมและการตรวจเต้านมด้วยตนเอง และความสามารถของสตรีในการตรวจเต้านมด้วยตนเอง โดยใช้แบบสอบถามที่มีค่าความเที่ยง 0.60-0.89 ติดตามประเมินผลในเดือนที่หนึ่ง สาม และหก หลังการสอนตรวจเต้านมด้วยตนเอง ผลการศึกษาในระยะที่ 3 พบว่าสตรีกลุ่มทดลองมีความรู้เพิ่มขึ้นมากกว่าสตรีกลุ่มทดลอง นอกจากนี้สตรีกลุ่มทดลองยังมีทัศนคติเกี่ยวกับมะเร็งเต้านมและการตรวจเต้านมด้วยตนเองสูงขึ้นในเดือนที่หนึ่งและหก ในขณะที่กลุ่มควบคุมมีคะแนนทัศนคติสูงขึ้นในเดือนที่หนึ่ง สามและลดลงใกล้เคียงกับก่อนได้รับการสอนในเดือนที่หก ส่วนการปฏิบัติการตรวจเต้านมด้วยตนเองพบว่า กลุ่มทดลองปฏิบัติการตรวจเต้านมด้วยตนเองเพิ่มขึ้นและมีคะแนนความสามารถในการตรวจเต้านมด้วยตนเองเพิ่มสูงกว่ากลุ่มทดลอง ผลการศึกษาแสดงให้เห็นประโยชน์ของการใช้หุ่นเต้านมจำลองที่มีความเสมือนจริงในการสอนตรวจเต้านมด้วยตนเองในสตรี และชี้ให้เห็นถึงแนวทางในการนำไปใช้ในทางปฏิบัติการด้านสุขภาพ การวิจัยและในเชิงนโยบายเพื่อส่งเสริมสุขภาพสตรี |
author2 |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพยาบาลศาสตร์ |
author_facet |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพยาบาลศาสตร์ ชมพูนุช โสภาจารีย์ สุชาดา รัชชุกูล ศราวุธ ริมดุสิต |
format |
Technical Report |
author |
ชมพูนุช โสภาจารีย์ สุชาดา รัชชุกูล ศราวุธ ริมดุสิต |
author_sort |
ชมพูนุช โสภาจารีย์ |
title |
การพัฒนาหุ้นเต้านมจำลองเพื่อใช้ในการสอนตรวจเต้านมด้วยตนเอง (ระยะที่ 2 และ 3) : รายงานผลการวิจัย |
title_short |
การพัฒนาหุ้นเต้านมจำลองเพื่อใช้ในการสอนตรวจเต้านมด้วยตนเอง (ระยะที่ 2 และ 3) : รายงานผลการวิจัย |
title_full |
การพัฒนาหุ้นเต้านมจำลองเพื่อใช้ในการสอนตรวจเต้านมด้วยตนเอง (ระยะที่ 2 และ 3) : รายงานผลการวิจัย |
title_fullStr |
การพัฒนาหุ้นเต้านมจำลองเพื่อใช้ในการสอนตรวจเต้านมด้วยตนเอง (ระยะที่ 2 และ 3) : รายงานผลการวิจัย |
title_full_unstemmed |
การพัฒนาหุ้นเต้านมจำลองเพื่อใช้ในการสอนตรวจเต้านมด้วยตนเอง (ระยะที่ 2 และ 3) : รายงานผลการวิจัย |
title_sort |
การพัฒนาหุ้นเต้านมจำลองเพื่อใช้ในการสอนตรวจเต้านมด้วยตนเอง (ระยะที่ 2 และ 3) : รายงานผลการวิจัย |
publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
publishDate |
2010 |
url |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12560 |
_version_ |
1681413435732000768 |
spelling |
th-cuir.125602010-04-22T03:58:02Z การพัฒนาหุ้นเต้านมจำลองเพื่อใช้ในการสอนตรวจเต้านมด้วยตนเอง (ระยะที่ 2 และ 3) : รายงานผลการวิจัย Development of breast model for utilizing in breast self examination instruction ชมพูนุช โสภาจารีย์ สุชาดา รัชชุกูล ศราวุธ ริมดุสิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพยาบาลศาสตร์ เต้านม -- การตรวจ เต้านม -- มะเร็ง การวิจัยนี้เป็นส่วนหนึ่งของโครงการพัฒนาหุ่นเต้านมจำลองเพื่อใช้ในการสอนตรวจเต้านมด้วยตนเอง มีรูปแบบการวิจัยแบ่งออกเป็น 2 ระยะคือ ระยะที่ 1 มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการยอมรับหุ่นเต้านมจำลองเพื่อใช้ประกอบการสอนตรวจเต้านมด้วยตนเองของพยาบาลวิชาชีพที่เป็นกลุ่มตัวอย่างจำนวน 30 คน ใช้การวิจัยแบบก่อนทดลอง (Pre-experimental design) ภายหลังการอบรมเชิงปฏิบัติการใช้สื่อหุ่นเต้านมจำลองในการสอนตรวจเต้านมด้วยตนเองทำการประเมินการยอมรับหุ่นเต้านมจำลองในกลุ่มทดลอง โดยใช้แบบประเมินการยอมรับหุ่นเต้านมจำลองที่มีค่าความเที่ยงครอนบาคเท่ากับ 0.86 ผลการศึกษาในระยะที่ 2 พบว่าพยาบาลวิชาชีพมีการยอมรับหุ่นเต้านมจำลองในระดับดี (M 35.7 SD 2.98) โดยมีการยอมรับมากที่สุดในด้านความสะดวกและประโยชน์ของการใช้หุ่นเต้านมจำลองในการสอนตรวจเต้านมด้วยตนเอง ระยะที่ 2 มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลการสอนโดยใช้หุ่นเต้านมจำลองต่อความรู้เกี่ยวกับการตรวจเต้านมด้วยตนเอง ทัศนคติต่อมะเร็งเต้านมและการตรวจเต้านมด้วยตนเอง และความสามารถของสตรีในการตรวจเต้านมด้วยตนเอง ใช้รูปแบบการวิจัยกึ่งทดลอง (Quasi experimental design) โดยพยาบาลวิชาชีพหลังจากผ่านการอบรมเชิงปฏิบัติการ ดำเนินการสอนสตรีตรวจเต้านมด้วยตนเอง แบ่งเป็นกลุ่มทดลองจำนวน 300 คน สอนโดยใช้สื่อหุ่นเต้านมจำลอง และกลุ่มควบคุมจำนวน 300 คนสอนโดยใช้สื่อภาพพลิก รวมกลุ่มตัวอย่างจำนวน 600 คน ซึ่งมีอายุเฉลี่ย 41.9 ปี (SD 11.25) ส่วนใหญ่สำเร็จการศึกษาในระดับต่ำกว่ามัธยมศึกษาตอนปลายและเกือบครึ่งหนึ่งไม่เคยมีประสบการณ์ตรวจเต้านมด้วยตนเอง พยาบาลวิชาชีพทำการประเมินความรู้เกี่ยวกับการตรวจเต้านมด้วยตนเอง ทัศนคติต่อมะเร็งเต้านมและการตรวจเต้านมด้วยตนเอง และความสามารถของสตรีในการตรวจเต้านมด้วยตนเอง โดยใช้แบบสอบถามที่มีค่าความเที่ยง 0.60-0.89 ติดตามประเมินผลในเดือนที่หนึ่ง สาม และหก หลังการสอนตรวจเต้านมด้วยตนเอง ผลการศึกษาในระยะที่ 3 พบว่าสตรีกลุ่มทดลองมีความรู้เพิ่มขึ้นมากกว่าสตรีกลุ่มทดลอง นอกจากนี้สตรีกลุ่มทดลองยังมีทัศนคติเกี่ยวกับมะเร็งเต้านมและการตรวจเต้านมด้วยตนเองสูงขึ้นในเดือนที่หนึ่งและหก ในขณะที่กลุ่มควบคุมมีคะแนนทัศนคติสูงขึ้นในเดือนที่หนึ่ง สามและลดลงใกล้เคียงกับก่อนได้รับการสอนในเดือนที่หก ส่วนการปฏิบัติการตรวจเต้านมด้วยตนเองพบว่า กลุ่มทดลองปฏิบัติการตรวจเต้านมด้วยตนเองเพิ่มขึ้นและมีคะแนนความสามารถในการตรวจเต้านมด้วยตนเองเพิ่มสูงกว่ากลุ่มทดลอง ผลการศึกษาแสดงให้เห็นประโยชน์ของการใช้หุ่นเต้านมจำลองที่มีความเสมือนจริงในการสอนตรวจเต้านมด้วยตนเองในสตรี และชี้ให้เห็นถึงแนวทางในการนำไปใช้ในทางปฏิบัติการด้านสุขภาพ การวิจัยและในเชิงนโยบายเพื่อส่งเสริมสุขภาพสตรี This study was the second of the two parts research titled “The development of breast model for utilizing in breast self examination (BSE) instruction”. The study was organized into two phases. Phase I was planned to examine the acceptance of breast model for utilizing in BSE instruction among 30 registered nurses. The quasi-experimental design was used. After attending BSE workshop, the acceptance of breast model was evaluated using the reliable acceptance scale (Cronbach’s alpha = 0.86). The findings showed that the breast model was well accepted as a teaching device (M 35.7 SD 2.98). The acceptance was prominent in its simplistic and relative advantage. Phase II, the quasi experimental design was utilized to examine the effect of BSE instruction using the breast model on BSE knowledge, attitude towards breast cancer and BSE and BSE ability. The registered nurses were assigned to either experimental or control groups. The experimental group was instructed to carry out BSE instruction using a breast model. The control group was trained to carry out BSE instruction using a flip chart. Six hundred women resided in Nakornratchasima province were recruited and equally assigned to receive BSE instruction according to the registered nurses’ group status. The average age of the women was 41.9 years (SD 11.25). The majority of the women completed secondary school or less and had no previous BSE experience. Following the BSE instruction, the women’s BSE knowledge, attitude towards breast cancer and BSE and BSE ability were evaluated and monitored at one month, three months and six months using reliable questionnaires (Cronbach’s alpha 0.60-0.89). The finding revealed that the experimental group gained more BSE knowledge, attitude toward breast cancer and BSE and BSE ability than the control counterparts. The study findings suggest the advantage of using the breast model in BSE instruction. The health related practice, research, and health policy were suggested to promote women’s health. ทุนวิจัยกองทุนรัชดาภิเษกสมโภช 2010-04-22T03:58:01Z 2010-04-22T03:58:01Z 2548 Technical Report http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12560 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 6106467 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |