เหตุใดจึงไม่ควรบัญญัติศัพท์ morpheme ว่า หน่วยคำ
บทความชิ้นนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะสืบประวัติการบัญญัติศัพท์คำว่า phoneme, allophone, morpheme, allomorph, lexeme, word-form ในภาษาอังกฤษ และคำว่า “หน่วยเสียง” “หน่วยเสียงย่อย” “หน่วยคำ” “หน่วยคำย่อย ” “หน่วยศัพท์” “รูปคำ” ในภาษาไทย และอภิปรายนิยามของคำเหล่านี้ บทความชิ้นนี้ยังชี้ให้เห็นถึงปัญหาที่เกิด...
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Article |
Language: | Thai |
Published: |
คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2010
|
Subjects: | |
Online Access: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13079 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chulalongkorn University |
Language: | Thai |
Summary: | บทความชิ้นนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะสืบประวัติการบัญญัติศัพท์คำว่า phoneme, allophone, morpheme, allomorph, lexeme, word-form ในภาษาอังกฤษ และคำว่า “หน่วยเสียง” “หน่วยเสียงย่อย” “หน่วยคำ” “หน่วยคำย่อย ” “หน่วยศัพท์” “รูปคำ” ในภาษาไทย และอภิปรายนิยามของคำเหล่านี้ บทความชิ้นนี้ยังชี้ให้เห็นถึงปัญหาที่เกิดจากศัพท์บัญญัติ 2 คำ ได้แก่ “หน่วยคำ” และ “หน่วยคำย่อย ” คำศัพท์บัญญัติทั้งสองคำนี้ก่อให้เกิดความสับสนในการอธิบายมโนทัศน์เรื่อง morpheme และ lexeme แก่นักเรียนชาวไทย ผู้เขียนจึงได้เสนอคำศัพท์ชุดใหม่ในบทความชิ้นนี้ได้แก่ “หน่วยสัทอรรถ” สำหรับคำว่า morpheme “สัทอรรถ” สำหรับคำว่า morph “สัทอรรถย่อย” สำหรับคำว่า allomorph และ “สัทอรรถวิทยา” สำหรับคำว่า morphology คำศัพท์บัญญัติชุดใหม่ช่วยขจัดความสับสนระหว่างหน่วยพื้นฐานในระดับต่าง ๆ ในภาษาและสะท้อนข้อเท็จจริงทางวิชาการว่าวิชา morphology เป็นวิชาที่มุ่งหาหน่วยภาษาที่เล็กที่สุดที่ประกอบด้วยองค์ประกอบ 2 ส่วนคือ เสียงและความหมาย |
---|