เหตุใดจึงไม่ควรบัญญัติศัพท์ morpheme ว่า หน่วยคำ

บทความชิ้นนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะสืบประวัติการบัญญัติศัพท์คำว่า phoneme, allophone, morpheme, allomorph, lexeme, word-form ในภาษาอังกฤษ และคำว่า “หน่วยเสียง” “หน่วยเสียงย่อย” “หน่วยคำ” “หน่วยคำย่อย ” “หน่วยศัพท์” “รูปคำ” ในภาษาไทย และอภิปรายนิยามของคำเหล่านี้ บทความชิ้นนี้ยังชี้ให้เห็นถึงปัญหาที่เกิด...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: กิ่งกาญจน์ เทพกาญจนา
Other Authors: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์
Format: Article
Language:Thai
Published: คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2010
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13079
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.13079
record_format dspace
spelling th-cuir.130792010-07-24T05:42:36Z เหตุใดจึงไม่ควรบัญญัติศัพท์ morpheme ว่า หน่วยคำ Problems of the Thai Coinage nuay kham for the English word morpheme กิ่งกาญจน์ เทพกาญจนา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์ ภาษาไทย -- ศัพท์บัญญัติ ศัพท์บัญญัติ บทความชิ้นนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะสืบประวัติการบัญญัติศัพท์คำว่า phoneme, allophone, morpheme, allomorph, lexeme, word-form ในภาษาอังกฤษ และคำว่า “หน่วยเสียง” “หน่วยเสียงย่อย” “หน่วยคำ” “หน่วยคำย่อย ” “หน่วยศัพท์” “รูปคำ” ในภาษาไทย และอภิปรายนิยามของคำเหล่านี้ บทความชิ้นนี้ยังชี้ให้เห็นถึงปัญหาที่เกิดจากศัพท์บัญญัติ 2 คำ ได้แก่ “หน่วยคำ” และ “หน่วยคำย่อย ” คำศัพท์บัญญัติทั้งสองคำนี้ก่อให้เกิดความสับสนในการอธิบายมโนทัศน์เรื่อง morpheme และ lexeme แก่นักเรียนชาวไทย ผู้เขียนจึงได้เสนอคำศัพท์ชุดใหม่ในบทความชิ้นนี้ได้แก่ “หน่วยสัทอรรถ” สำหรับคำว่า morpheme “สัทอรรถ” สำหรับคำว่า morph “สัทอรรถย่อย” สำหรับคำว่า allomorph และ “สัทอรรถวิทยา” สำหรับคำว่า morphology คำศัพท์บัญญัติชุดใหม่ช่วยขจัดความสับสนระหว่างหน่วยพื้นฐานในระดับต่าง ๆ ในภาษาและสะท้อนข้อเท็จจริงทางวิชาการว่าวิชา morphology เป็นวิชาที่มุ่งหาหน่วยภาษาที่เล็กที่สุดที่ประกอบด้วยองค์ประกอบ 2 ส่วนคือ เสียงและความหมาย This research paper aims at tracing the coinage and discussing the definitions of the words phoneme, allophone, morpheme, allomorph, lexeme,and word-form in English, and the words nuay sain, nuay sain yoy, nuay kham, nuay kham yoy, nuay sap, and ruup kham in Thai. This paper also identifies the problems arising from the coinage of two Thai words, namely, nuay kham and nuay kham yoy which usually confuse Thai students in the process of understanding the notions of morpheme and lexeme. In this paper, the author coins a new set of Thai words, namely,nuay sattha?at, nuay sattha?at yoy, and sattha?at witthayaa which correspond to the words morpheme, allomorph, and morphology, respectively. The new set of words will eliminate confusion which might arise in explaining the concepts of the basic units at different linguistic levels. In addition, the components of the new set of words reflect the well-known fact in linguistics that morphology is a branch of linguistics which aims at identifying the smallest linguistic units which consist of two components, i.e. sounds and meanings. 2010-07-24T05:42:35Z 2010-07-24T05:42:35Z 2541 Article วารสารอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 27,1(ม.ค.-มิ.ย. 2541),25-42 0125-4820 http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13079 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2023788 bytes application/pdf application/pdf คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic ภาษาไทย -- ศัพท์บัญญัติ
ศัพท์บัญญัติ
spellingShingle ภาษาไทย -- ศัพท์บัญญัติ
ศัพท์บัญญัติ
กิ่งกาญจน์ เทพกาญจนา
เหตุใดจึงไม่ควรบัญญัติศัพท์ morpheme ว่า หน่วยคำ
description บทความชิ้นนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะสืบประวัติการบัญญัติศัพท์คำว่า phoneme, allophone, morpheme, allomorph, lexeme, word-form ในภาษาอังกฤษ และคำว่า “หน่วยเสียง” “หน่วยเสียงย่อย” “หน่วยคำ” “หน่วยคำย่อย ” “หน่วยศัพท์” “รูปคำ” ในภาษาไทย และอภิปรายนิยามของคำเหล่านี้ บทความชิ้นนี้ยังชี้ให้เห็นถึงปัญหาที่เกิดจากศัพท์บัญญัติ 2 คำ ได้แก่ “หน่วยคำ” และ “หน่วยคำย่อย ” คำศัพท์บัญญัติทั้งสองคำนี้ก่อให้เกิดความสับสนในการอธิบายมโนทัศน์เรื่อง morpheme และ lexeme แก่นักเรียนชาวไทย ผู้เขียนจึงได้เสนอคำศัพท์ชุดใหม่ในบทความชิ้นนี้ได้แก่ “หน่วยสัทอรรถ” สำหรับคำว่า morpheme “สัทอรรถ” สำหรับคำว่า morph “สัทอรรถย่อย” สำหรับคำว่า allomorph และ “สัทอรรถวิทยา” สำหรับคำว่า morphology คำศัพท์บัญญัติชุดใหม่ช่วยขจัดความสับสนระหว่างหน่วยพื้นฐานในระดับต่าง ๆ ในภาษาและสะท้อนข้อเท็จจริงทางวิชาการว่าวิชา morphology เป็นวิชาที่มุ่งหาหน่วยภาษาที่เล็กที่สุดที่ประกอบด้วยองค์ประกอบ 2 ส่วนคือ เสียงและความหมาย
author2 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์
author_facet จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์
กิ่งกาญจน์ เทพกาญจนา
format Article
author กิ่งกาญจน์ เทพกาญจนา
author_sort กิ่งกาญจน์ เทพกาญจนา
title เหตุใดจึงไม่ควรบัญญัติศัพท์ morpheme ว่า หน่วยคำ
title_short เหตุใดจึงไม่ควรบัญญัติศัพท์ morpheme ว่า หน่วยคำ
title_full เหตุใดจึงไม่ควรบัญญัติศัพท์ morpheme ว่า หน่วยคำ
title_fullStr เหตุใดจึงไม่ควรบัญญัติศัพท์ morpheme ว่า หน่วยคำ
title_full_unstemmed เหตุใดจึงไม่ควรบัญญัติศัพท์ morpheme ว่า หน่วยคำ
title_sort เหตุใดจึงไม่ควรบัญญัติศัพท์ morpheme ว่า หน่วยคำ
publisher คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2010
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13079
_version_ 1681408832175079424