ขอทานในสังคมไทย
คนขอทานในสังคมไทยสมัยจารีตมีสถานะทางสังคมต่ำสุดเสมอกับทาส แต่แม้ว่าจะมีสถานะดังกล่าวและถูกเหยียดหยาม สังคมสมัยจารีตยอมรับคนขอทานเป็นส่วนหนึ่งของสังคม อยู่ร่วมทุกข์กันในวัฏสงสาร โดยมีทัศนะและวิธีปฏิบัติต่อคนขอทานวางอยู่บนความเชื่อเรื่องบุญกรรม เรื่องเวทนาสงสาร เรื่องทาน และการให้ทาน กระทั่งเมื่อล่วงเ...
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Article |
Language: | Thai |
Published: |
คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2010
|
Subjects: | |
Online Access: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13806 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chulalongkorn University |
Language: | Thai |
Summary: | คนขอทานในสังคมไทยสมัยจารีตมีสถานะทางสังคมต่ำสุดเสมอกับทาส แต่แม้ว่าจะมีสถานะดังกล่าวและถูกเหยียดหยาม สังคมสมัยจารีตยอมรับคนขอทานเป็นส่วนหนึ่งของสังคม อยู่ร่วมทุกข์กันในวัฏสงสาร โดยมีทัศนะและวิธีปฏิบัติต่อคนขอทานวางอยู่บนความเชื่อเรื่องบุญกรรม เรื่องเวทนาสงสาร เรื่องทาน และการให้ทาน กระทั่งเมื่อล่วงเข้าสู่ช่วงรัฐสมัยใหม่ สายตาที่รัฐและคนสมัยใหม่พิจารณาคนขอทานเริ่มเปลี่ยนไป คนขอทานถูกมองว่าเป็นคนที่ไร้คุณภาพ ไร้ประโยชน์ กีดขวางความเจริญ ไม่เป็นที่ปรารถนา คนขอทานและคนจำพวกอื่นๆ ที่ไม่เป็นที่พึงปรารถนาเหล่านี้จึงถูกกีดกันและกำจัดออกนอกสายตาและวิถีความเจริญของรัฐและสังคมสมัยใหม่ |
---|