การปล้นและลักกระบือในทุ่งรังสิต : ภาพสะท้อนการเสื่อมคลายของระบบอุปถัมภ์แบบนักเลง
การขยายตัวของเศรษฐกิจแบบส่งออกโดยมีข้าวเป็นสินค้าหลัก ทำให้เกิดโครงการพัฒนาที่ดินครั้งสำคัญในพื้นที่ราบลุ่มภาคกลาง สมัยรัชกาลที่ 5 คือการขุดคลองและบุกเบิกที่นาในโครงการรังสิต ซึ่งก่อให้เกิดการอพยพสู่พื้นที่นี้โดยผู้คนหลากหลายฐานะและชาติพันธุ์ ท่ามกลางการระดมทรัพยากรทางเศรษฐกิจในการผลิตข้าวทั้งในรูปเ...
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Article |
Language: | Thai |
Published: |
คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2010
|
Subjects: | |
Online Access: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13812 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chulalongkorn University |
Language: | Thai |
Summary: | การขยายตัวของเศรษฐกิจแบบส่งออกโดยมีข้าวเป็นสินค้าหลัก ทำให้เกิดโครงการพัฒนาที่ดินครั้งสำคัญในพื้นที่ราบลุ่มภาคกลาง สมัยรัชกาลที่ 5 คือการขุดคลองและบุกเบิกที่นาในโครงการรังสิต ซึ่งก่อให้เกิดการอพยพสู่พื้นที่นี้โดยผู้คนหลากหลายฐานะและชาติพันธุ์ ท่ามกลางการระดมทรัพยากรทางเศรษฐกิจในการผลิตข้าวทั้งในรูปเงินตราและแรงงาน ได้เพิ่มคดีและความรุนแรงของการปล้นสะดม โดยเฉพาะการปล้นและลักกระบือ ซึ่งกลายเป็นทรัพย์สินที่มูลค่าทางเศรษฐกิจสูง การพิจารณาถึงลักษณะคดีและการปล้นสะดมกระบือที่เกิดขึ้นในพื้นที่แถบนี้ จะเห็นได้ถึงความเสื่อมคลายของความสัมพันธ์ทางสังคมและระบบอุปถัมภ์ในยุคเศรษฐกิจแบบพอยังชีพ สู่สภาพและระบบสังคมเฉพาะของพื้นที่บริเวณดังกล่าวนี้ ซึ่งได้เกิดระบบอุปถัมภ์แบบใหม่ ทั้งที่เป็นลักษณะเฉพาะในแต่ละกลุ่มอพยพ ที่เกิดจากระบบเช่านา จากความคุ้มครองของบริษัทเจ้าของสัมปทาน รวมถึงการจัดการโดยระบบราชการและกฎหมาย ขณะที่บทบาทของนักเลงที่มีความสำคัญสูงในระบบสังคมแบบเดิมเริ่มหมดพลัง และกลายเป็นผู้สร้างความเดือดร้อนไปในที่สุด |
---|